Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorปาณิสรา ศรีธนสารth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T02:28:41Z-
dc.date.available2022-10-31T02:28:41Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1905-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรสาธารณสุข ความรู้ ปัจจัยสนับสนุนจากองค์กร และแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน (2) ศึกษาการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ ปัจจัยสนับสนุนจากองค์กร และแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน กับการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ (4) ค้นหาปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2559 ประชากรที่ศึกษา คือบุคลากรสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จานวน 125 คน โดยศึกษาทุกหน่วยประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม ค่าความเที่ยงของ แบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรสาธารณสุขส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 38.45 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน เฉลี่ย 3.47 ปี จำนวนครั้งของการอบรม เฉลี่ย 1.57 ครั้ง ส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ในระดับสูง ปัจจัยสนับสนุนจากองค์กร อยู่ในระดับปานกลาง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูง (2) การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2559 ในภาพรวมและรายด้านทั้ง 7 ด้านอยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดตรัง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ตำแหน่งผู้รับผิดชอบงาน ปัจจัยสนับสนุนจากองค์กร และแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และ (4) ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญคือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของประชาชน ควรมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมใหม่ๆ ให้น่าสนใจขึ้นและปรับเปลี่ยนเวลาการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพ--ไทย--ตรังth_TH
dc.subjectเป้าหมาย (จิตวิทยา)th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the operations of health behavior modification villages for reducing the risk of cancer, hypertension, and cardiovascular disease by subdistrict Health Promoting Hospitals in Trang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were: (1) to identify public health personnel’s personal characteristics, knowledge, organizational support and work motivation; (2) to review the operations of health behavior modification villages; (3) to determine the relationship between health personnel’s personal characteristics, knowledge, organizational support, work motivation and the operations of health behavior modification villages; and (4) to identify problems/obstacles and make suggestions in the operations of health behavior modification villages, all for reducing the risk of cancer, hypertension, and cardiovascular disease by sub-district health promoting hospitals in Trang province in 2016. The study was conducted in all 125 public health personnel who were responsible for the operations of health behavior modification villages in Trang province. The instrument used to collect data was a questionnaire with a reliability of 0.86. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, and Pearson's product moment correlation coefficient. The findings revealed that: (1) all public health personnel were female with an average age of 38.45 years, finished a bachelor’s degree, and on average had 3.47 years of service as health technical officers and had received 1.57 training sessions; their knowledge and work motivation were at a high level; and the organizational support was at a moderate level; (2) the operations of health behavior modification villages for reducing the risk of cancer, hypertension, cardiovascular disease by the hospitals, overall and in all seven aspects, were at a moderate level; (3) the factors significantly related to the operations of health behavior modification villages for reducing the risk of cancer, hypertension, cardiovascular disease were working position, organizational support, and work motivation (p = 0.05); and (4) the important problem in such efforts was the learning activities organized for the people; so such activities’ process should be modified to be more interesting and the timing should be suitable for local residents’ ways of lifeen_US
dc.contributor.coadvisorอารยา ประเสริฐชัยth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157764.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons