Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.contributor.authorมยุรา แซ่ฉั่ว, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T02:44:24Z-
dc.date.available2022-10-31T02:44:24Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1907-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 255th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ร้ายย่อยในจังหวัดสุรินทร์ที่ใช้ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ (2) การใช้ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ของเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์รายย่อยในจังหวัดสุรินทร์ และ (3) ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ของเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์รายย่อยในจังหวัดสุรินทร์ ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรร้อยละ 47.32 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 49.55 ปี ร้อยละ 44.64 เรียนจบระดับประถมศึกษา มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.61 คน ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เป็นผู้ใช้ก๊าซเป็นประจา เลี้ยงโคเฉลี่ยครัวเรือนละ 4.72 ตัว เลี้ยงกระบือเฉลี่ยครัวเรือนละ 3.52 ตัว มีการเก็บรวบรวมมูลสัตว์เฉลี่ย 9,802.68 กิโลกรัมต่อปี มีรายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ยครัวเรือนละ 176,944.64 บาท/ปี มีรายได้นอกภาคการเกษตรเฉลี่ยครัวเรือนละ 74,778.37 บาท/ปี เกษตรกรมีหนี้สินที่ยังคงค้างจ่ายกับสถาบันการเงิน เฉลี่ยครัวเรือนละ 214,628.76 บาท โดยเกษตรกรสองในสามมีหนี้สินกับสถาบันธนาคาร (2) เกษตรกรทั้งหมดใช้พลังงานที่ได้จากบ่อหมักก๊าซชีวภาพ เป็นพลังงานในการหุงต้มในครัวเรือน ทำให้หลังจากมีการใช้ก๊าซชีวภาพ การใช้พลังงานและค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการหุงต้มของครัวเรือนลดลง เกษตรกรเปิดใช้ก๊าซเฉลี่ยวันละ 2.36 ครั้ง เฉลี่ย 66.03 นาทีต่อวัน ทั้งนี้ พบว่า บ่อหมักก๊าซชีวภาพแบบถุงหมัก PVC มีระยะเวลาในการเปิดใช้ก๊าซที่นานที่สุด เฉลี่ย 92.98 นาที ส่วนบ่อหมักก๊าซชีวภาพแบบฝาครอบลอย มีระยะเวลาในการเปิดใช้ก๊าซที่นานที่สุด เฉลี่ย 74.33 นาที เกษตรกรร้อยละ 54.46 เห็นว่าก๊าซมีแรงดันในช่วงเย็นสูงกว่าช่วงเช้า เกษตรกรนากากที่เหลือจากการหมักก๊าซไปใช้เป็นปุ๋ยเป็นประจำโดยส่วนใหญ่ใช้เป็นปุ๋ยพืชผักในครัวเรือน (3) ปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการผลิตและการใช้ก๊าซชีวภาพของเกษตรกร แบ่งเป็น 4 ด้าน และปัญหาที่เกษตรกรจานวนมากที่สุดประสบในแต่ละด้าน มีดังนี้ (1) ปัญหาด้านการติดตั้งบ่อก๊าซชีวภาพ คือ ปัญหาท่อบ่อเติม และท่อบ่อล้นเกิดการอุดตัน (2) ปัญหาด้านการใช้ก๊าซชีวภาพ คือ ปริมาณก๊าซที่เกิดขึ้นไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ในแต่ละวัน และ ก๊าซออกแต่จุดไฟติดบ้างไม่ติดบ้าง (3) ปัญหาด้านการนากากก๊าซไปใช้เป็นปุ๋ย คือ ปัญหากากมีลักษณะเหลวทำให้หกเลอะเทอะระหว่างขนกากไปใช้หรือไปตากให้แห้ง และ (4) ปัญหาด้านการบำรุงรักษาและอื่นๆที่เกี่ยวข้อง คือ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองเมื่อบ่อก๊าซเกิดการชำรุดโดยปัญหาที่ประสบเหล่านี้อยู่ในระดับน้อยและน้อยที่สุด ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้คือควรมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการผลิตและการใช้ก๊าซชีวภาพ และควรมีการส่งเสริม สนับสนุนให้เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ใช้ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ เพื่อให้เกษตรกรมีพลังงานใช้ในครัวเรือน และมีการใช้ปุ๋ยจากกากก๊าซในการทำการเกษตรเพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมี เป็นการส่งเสริมให้การเลี้ยงสัตว์เพิ่มขึ้น สามารถพึ่งตนเองได้ นำไปสู่การทำการเกษตรอย่างยั่งยืน มีวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม ของตนเอง หรือชุมชนนั้นๆ ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.94-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectก๊าซชีวภาพth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--สุรินทร์th_TH
dc.titleการใช้ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeManure biogas utilization by small farmers in Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.94-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) social and economic conditions of small farmers in Surin province; (2) manure biogas utilization by small farmers in Surin province and (3) problems and suggestions of the farmers on biogas utilization. The population in this study were 112 small farmers in Surin province. Data were collected from the population and analyzed by computer programs. Statistics used were frequency,percentage, mean, standard deviation, minimum value, and maximum value. The result of this study were as follows: (1) 47.32 % of the farmers were male, their average age was 49.55 years, educated primary level, their average family members was 4.61, most of the population were gas users, their average number of raised cattle was 4.72,their average number of raised buffaloes was 3.52, their average amount of collected dung was 9,802.68 kg per year. Their average income from agricultural sector was 176,944.64 Baht / year. Their average income from other sector was 74,778.37 Baht / year. Their average amount of debt was 214,628.76 baht, two - thirds were owed to banks; (2) all population used energy from biogas for household cooking. Which decreased the energy cost for household cooking.More than half of the population thought gas pressure is higher in the evening than in the morning. They opened gas 2.36 times (66.03 minutes) a day in an average. The longest time to open gas form biogas fermentation PVC bags was 92.98 minutes and Floating drum digester was 74.33 minutes. Most farmers used the fermentation residue as fertilizer for their plant and (3) the problems and suggestions relating to manure gas utilization of the farmers were classified into 4 categories. These problems were indicated at the less and the least level. The most problems found in installation were ponds fill and overflow ponds clogged. The problem found in using was gas amount was not enough to use in a day and not able to lit. The problem found in fertilizer was liquid fertilizers was difficult to use or to dry. And the problem found in maintenance was unable to fix the biogas wells themselves. The study suggested that livestock farmers should be encourage to use manure biogas and the fermentation residue should be used as organic fertilizers instead of to substitute chemical fertilizers.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142857.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons