Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิริยา ผาติวิกรัยวงค์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T02:52:03Z-
dc.date.available2022-10-31T02:52:03Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1909-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงวิเคราะห์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ (2) ศึกษาความคิดเห็นต่อปัจจัยกลยุทธ์ โครงสร้างองค์กร ระบบการปฏิบัติงาน รูปแบบการบริหาร บุคลากร ทักษะและค่านิยมร่วม (3) เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความสาเร็จในการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ และ (4) ศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา (วสส. ยะลา) ประชากรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ เป็นบุคลากรวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลาที่ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน จำนวน 110 คน โดยเก็บทุกหน่วยประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามการวิจัยที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ การวิจัยปรากฏผลดังนี้ (1) ความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์โดยรวมอยู่ในระดับดี (2) ปัจจัยกลยุทธ์ โครงสร้างองค์กร ระบบการปฏิบัติงาน รูปแบบการบริหาร บุคลากร ทักษะและค่านิยมร่วม ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ ได้แก่ ค่านิยมร่วมและรูปแบบการบริหาร ซึ่งสามารถพยากรณ์ความสำเร็จในการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ได้ร้อยละ 70.7 และ (4) ปัญหา อุปสรรคในการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ได้แก่โครงการและกิจกรรมมีจำนวนมากเกินไปและซ้ำซ้อน โดยมีข้อเสนอแนะคือควรบูรณาการโครงการในพันธกิจเดียวกันและควรพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนเพิ่มเพื่อให้การปฏิบัติงานสอดรับกับสถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.90-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดยะลา--การบริหารth_TH
dc.subjectประสิทธิผลองค์การth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the success of strategic plan administration at Sirindhorn College of Public Health, Yala provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.90-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to determine the success level of strategic plan administration; (2) to identify opinions about strategy, organizational structure, operational system, administrative system, personnel, skills, and shared values; (3) to identify factors predicting the success of strategic plan administration; and (4) to identify problems/obstacles and make suggestions for improving strategic plan administration, all at the Sirindhorn College of Public Health in Yala province. The study was conducted in all 110 personnel of the college. Data were collected by using a questionnaire with the reliability value of 0.98 and then analyzed to determine percentage and standard deviation, and perform chi-square test and multiple regression analysis. The results showed that, among all respondents: (1) their attitudes towards the success of the plan administration were at a good level; (2) the strategic factors including organizational structure, operational system, administrative system; personnel, skills, and shared values, overall and aspect-specific, were at a high level; (3) the factors related to the success of the plan administration were shared values and administrative style, which had a predictive value of 70.7%; and (4) the problem/obstacle in the plan administration was the number of projects and activities – being too large and redundant. It is thus suggested that the projects under the same mission should be integrated and the capacity of support staff should be enhanced in response to changing circumstancesen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158846.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons