Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1912
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทรงศรี สรณสถาพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบรรเจิด ลีวรรณนภาใส, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T03:16:59Z-
dc.date.available2022-10-31T03:16:59Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1912-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษิวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับการเสริมสร้างพลัง อำนาจและระดับความสามารกในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาล ทั่วไป เขต 3 (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจกับความสามารถในการ บริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ (3) เพื่อศึกษาตัวแปรด้านการเสริมสร้างพลังอำนาจ ที่ร่วมกัน ทำนายความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ หัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาล ทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขต 3 จำนวน 141 คน เครื่องมือที่ใซัเป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานของ หัวหน้าหอผู้ป่วย และความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอป่วย ซึ่งผ่านการตรวจความตรง ตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ได้ค่า เท่ากับ 0.87 และการหาความเที่ยงของเครื่องมือ ได้ค่าความเที่ยง ของเครื่องมือเกี่ยวกับการรับรู้การเสริมสร้างพลังอำนาจ และความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย เท่ากับ 0.94 และ 0.94 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเแบบ เพิ่มขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) การเสริมสร้างพลังอำนาจ และความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอป่วย โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) การเสริมสร้างพลังอำนาจความสัมพันธ์ทางบวกในระดับ ปานกลางกับความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย (r= 0.530,P < 0.01) และ (3) การ เสริมสร้างพลังอำนาจ ด้านการได้รับการยกย่องชมเชยและยอมรับ และด้านการได้รับทรัพยากร สามารถ ทำนายความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป เขต 3 ได้ร้อยละ 30.9th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.227en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleปัจจัยด้านการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป เขต 3th_TH
dc.title.alternativeThe empowerment factors affecting the work administration ability of head nurses in regional and general hospitals, Region 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.227en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: (1) to study the level empowerment and work administration ability of head nurses who work for regional and general hospitals, Region 3, (2) to investigate the relationship between empowerment and the work administration ability of head nurses, and (3) to identify the predictor variable of the work administration ability of head nurses. The subjects of this study were 141 head nurses who work for regional and general hospitals, Region 3. Questionnaires were used as research tools and consisted of three sections: personal characteristics, job empowerment, and work administration ability of head nurses. The content validity was verified by five experts at 0.87. The reliability of the second and the third sections were 0.94 and 0.94 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, and stepwise multiple regression analysis. The research findings were as follows. (1) Head nurses rated their empowerment and work administration abilities at the high level. (2) There was a statistically significant positive correlation at moderate level between the empowerment and the work administration ability of head nurses (r = 0.530. p < 0.01). Finally, (3) the empowerment especially the reward- recognition and resources significantly predicted the work administration ability of head nurses at the 0.05 level. These predictors accounted for 30.9 percenten_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118786.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons