Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประภา นวลขาว, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T03:56:58Z-
dc.date.available2022-10-31T03:56:58Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1918-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทการบริหารของหัวหน้า หอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน ภาคใต้ (2) ศึกษาบรรยากาศองค์การตามการรับรู้ ของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับบรรยากาศ องค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ไนการศึกษาครั้งนี้คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติคงในในโรงพยาบาลชุมชน ในเขต ภาคใต้ 14 จังหวัด 96 โรงพยาบาล ซึ่งได้จากการสุ่มแบบชั้นภูมิ จำนวน 295 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ข้อมูลทั่วไป บทบาทการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย และบรรยากาศองค์การ ซึ่ง แบบสอบถามส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 และ 0.95 ตามลำตับ สถิติทิ่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเที่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ ในระดับสูง (2) การรับรู้บรรยากาศองค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนภาคใต้ อยู่ใน ระดับสูง และ (3) บทบาทการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับบรรยากาศองค์การตาม การรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลชุมชนภาคใต้ ในระดับสูง (r= 0.775) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับบรรยากาศองค์การตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between head nurses' administrative roles and the organizational climate as perceived by professional nurses at community hospitals in the Southern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study head nurses’ administrative roles as perceived by professional nurses at community hospitals in the southern region, (2) to investigate organizational climate as perceived by professional nurses, and (3) to examine the relationship between head nurses’ administrative roles and organizational climate as perceived by professional nurses. The sample group consisted of 295 professional nurses who worked at 96 community hospitals in the southern region. They were selected by the multistage random sampling technique. Three sets of questionnaires covering (a) personal data, (b) head nurses’administrative roles, and (c) organizational climate were used as research tools. They were tested for reliability and validity. The Cronbach’s alpha coefficients of the second and the third parts were 0.95 and 0.95 respectively. The statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product- moment correlation coefficient. The findings were as follows. (1) Professional nurses rated their head nurses’ administrative roles at the high level. (2) They also rated organizational climate at the high level. Finally, (3) there was a statistically significant positive correlation at high level between head nurses’ administrative roles and organizational climate (r~ 0.775, p <.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118787.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons