Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1937
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปรางค์ทิพย์ อุจะรัตน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมพร เปรื่องพงษ์, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T08:08:09Z-
dc.date.available2022-10-31T08:08:09Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1937-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลการใช้ การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดปีกกระดูกสันหลัง โรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าคัดปีกกระดูกสันหลัง ก่อนและหลังใช้การ จัดการผู้ป่วยรายกรณี ในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อชายชั้น 4 จำนวน 60 คน และพยาบาล วิชาชีพที่ดูแลผู้ป่วย ในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อชายชั้น 4 โรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เครื่องที่ใช้ในการจัดการผู้ป่วยราย กรณีและเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบบันทึกจำนวนวันนอนของผู้ป่วย แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย และแบบสอบถามความพึงพอใจของบุคลากร ที่ผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนี้อหา และความเที่ยงแลัว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐานส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ สถิติทดสอบแมนวิทนีย์ยู ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิผลการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี มีดังนี้ (1) จำนวน วันนอนก่อนและหลังใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี ไม่แตกต่างกัน (2) ความพึงพอใจของผู้ป่วยหลัง ใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีสูงกว่าก่อนใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ.05 (3) ความพึงพอใจของบุคลากร หลังใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี อยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.207en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้ป่วย -- บริการทางการแพทย์th_TH
dc.titleผลการใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดปีกกระดูกสันหลังโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeEffects of using case management for patients with laminectomy at Maharat Nakornratchasima Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.207en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was quasi-cxpcrimcntal research, and the purpose of which was to find the effectiveness of using the case management model for patients with laminectomy at Maharat Nakomratchasima Hospital. The research subjects comprised 60 patients who had been undergone a laminectomy operation, both before and after using the case management model, and 12 professional nurses who took care of these patients at the fourth floor of the Male Orthopedics Departments at Maharat Nakomratchasima Hospital. The research instruments consisted of case management tools and data collection instruments including record form of length of stay, patient satisfaction questionnaire and personnel satisfaction questionnaire. Frequency, Percentage, mean, standard deviation, median, quartile deviation, and Mann - Whitney บ test were used for data analysis. The results of the study were as follows. (1) The length of stay of patients who had a laminectomy operation, both before and after using case management, was not significantly different. (2) Patients rated their satisfaction after using case management significantly higher than before at the level 0.05 (3) Staff rated their satisfaction after using case management at the high levelen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118800.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons