Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ นามวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัษฎาพร พิบูลย์, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T08:54:26Z-
dc.date.available2022-10-31T08:54:26Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1944-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินผลการดำเนินงานของสหกรณ์ โดยใช้การประเมินผลแบบดุลยภาพ และ 2) เสนอแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตรเมืองหนองหาน จํากัด จังหวัดอุดรธานี ประชากรในการกษาครั้งนี้ ได้แก่ 1) สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองหนองหาน จํากัด จํานวน 2,962 คน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562 กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 352 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย และ 2) คณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจัดการ จํานวน 33 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือในการศึกษาใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) ประเมินผลการดำเนินงานของสหกรณ์โดยใช้การประเมินผลแบบดุลยภาพ ทั้ง 4 มุมมอง (1) ด้านการเงิน โดยการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน CAMELS เทียบกับอัตราส่วนสําคัญของสหกรณ์การเกษตรเฉลี่ยของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ข้อมูลที่บัญชี 2560-2562 พบว่า มิติที่ 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยงของสหกรณ์ สูงกว่าค่าเฉลี่ย มิติที่ 2 คุณภาพของสินทรัพย์ โดยรวมสูงกว่าค่าเฉลี่ย มีอัตราการหมุนของสินทรัพย์ กว่าค่าเฉลี่ย มิติที่ 3 ขีดความสามารถในการบริหาร สูงกว่าค่าเฉลี่ย การเพิ่มขึ้นและลดลงของอัตราการเติบโตทางธุรกิจ ไม่แน่นอน มิติที่ 4 การทํากำไรของสหกรณ์โดยรวมสูงกว่าค่าเฉลี่ย อัตราการทำกำไรสูงกว่าค่าเฉลี่ยเงินออมต่อสมาชิกสูงกว่าค่าเฉลี่ย และอัตราหนี้สินต่อสมาชิกสูงกว่าค่าเฉลี่ยอัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่ำกว่าค่าเฉลี่ยการเติบโตของทุนสูงกว่าค่าเฉลี่ย อัตรากําไรสุทธิสูงกว่าค่าเฉลี่ย มิติที่ 5 สภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์โดยรวมสูงกว่าค่าเฉลี่ย แต่มีอัตราการหมุนของสินค้าต่ำกว่าค่าเฉลี่ย และอายุเฉลี่ยของสินค้าสูงกว่าค่าเฉลี่ย มิติที่ 6 ผลการทบต่อธุรกิจ คู่แข่งทางด้านธุรกิจ นโยบายการช่วยเหลือด้านการเงินของรัฐ ระเบียบข้อบังคับที่เพิ่มใหม่ ส่งผลต่อการบริหารงานของสหกรณ์ (2) ด้านลูกค้า พบว่า ความพึงพอใจของสมาชิกในฐานะของลูกค้าอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ด้านกระบวนการภายใน พบว่าความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการและฝ่ายจัดการอยู่ในระดับมาก (4) ด้านการเรียนรู้และพัฒนา พบว่า คณะกรรมการและฝ่ายจัดการมีความคิดเห็นอยู่ในระดับระดับมาก 2) แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของสหกรณ์ (1) ด้านการเงิน เพื่อเพิ่มสภาพคล่องสหกรณ์ควรบริหารจัดการสินค้าคงคลังให้มีประสิทธิภาพก่อให้เกิดรายได้มากที่สุด (2) ด้านลูกค้า เพื่อเพิ่มการพัฒนาที่ดีขึ้นสหกรณ์ควรเพิ่มด้านภาพลักษณ์ของสหกรณ์และตราสินค้า เช่น การจัดสถานที่ทํางานอำนวยความสะดวกรวดเร็วให้กับสมาชิก การจัดกิจกรรมเพื่อดูแลสุขภาพสมาชิก (3) ด้านกระบวนการภายในสหกรณ์ควรเพิ่มด้านนวัตกรรม เช่น สหกรณ์ควรมีบริการสั่งของออนไลน์ และ (4) ด้านการเรียนรู้และพัฒนาสหกรณ์ควรเพิ่มทักษะบุคลากรในด้านต่างๆ เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น ด้านเทคโนโลยี และด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสหกรณ์ เป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรเมืองหนองหาน จำกัด จังหวัดอุดรธานี--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการพัฒนาการดำเนินงานสหกรณ์การเกษตรเมืองหนองหาน จำกัด จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeOperational development of Muang Nong Han agricultural cooperatives limited, Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the evaluation of the cooperative's performance by using balanced scorecard and 2) suggestions regarding the operational development of Muang Noog Han agricultural cooperatives Limited. Udon Thani province. The population of this study were 1) 2,962 members of Muang Nong Han agricultural cooperatives limited. Udon Thani Province on 31“ March. 2019. The sample size of 352 people was determined by using Taro Yamane formula at the error value of 0.05 and simple random sampling method and 2) 33 operational and managerial committees. The study-covered the entire population. Tool used in this study was questionnaires. Data was analyzed using statistics such as percentage, standard deviation, and content analysis. The results of the study revealed that 1) the evaluation of the cooperative performance was done by using balanced scorecard in all 4 perspectives: (1) financial perspective was done by’analyzing CAMELS financial ratio in comparison With the average key ratio of agricultural cooperative of the cooperative auditing department for the fiscal year 2017-2019 . The result revealed that the 1st dimension which was the capacity’ strength of the cooperative was higher than the average value. Regarding the 2nd dimension, asset quality’, overall was higher than the average value with asset turnover ratio lower than the average value. For the 3rd dimension, management ability was higher than the average value and the increase and decline in business growth was uncertain. The 4- dimension which was earning sufficiency, overall, was higher than the average value, the profitability ratio was higher- than the average value, the saving per- member was higher- than the average value, the debt ratio per member was higher than the average value, the operational expense ratio was lower than the average value while the capital growth was higher than die average value, and the net profit ratio was higher than the average value. The 5* dimension was financial liquidity of the cooperative which overall was higher than die average value. However, the product turnover ratio was lower than the average value and die average age of products were higher than the average value. The 6* dimension was about sensitivity, business competitor, state financial aid policy', additional regulations which affected the administration of the cooperative. (2) In customer perspective. It stated that the satisfaction of members as the customer was at the highest level. (3) For internal perspective, it showed that the opinion towards the operation of committees and management was at the high level. (4) Regarding the learning and growth perspective, it found out that die committees and management had the opinion at the high level. 2 ) Operational development guideline of the cooperative (1) financial perspective: in order to increase the liquidity of the cooperative, there should be and effective inventory’ management to create highest income. (2) Customer per spective: in order to better improve the cooperative, there should be more image building of the cooperative and the handing such as location management to accommodate members, die organizing of events for health of members. (3) Internal perspective of the cooperative: there should be an increase in innovation such as cooperative should have online delivery service and (4) learning and growth perspective: die cooperative should increase the employee skills in various aspects so that they are up-to-date with current situation such as technology, legal related to the operation of the cooperativeen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons