Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1958
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัทยา แก้วสารth_TH
dc.contributor.authorจิราภา ดวงวงษ์, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T02:38:29Z-
dc.date.available2022-11-01T02:38:29Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1958en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการณ์การพัฒนาสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพเข้าสู่ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 2) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพเข้าสู่ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือ ทีมบริหารสถาบันราชประชาสมาสัย ประกอบด้วยคณะกรรมการบริหารบุคคล คณะกรรมการบริหารกลุ่มการพยาบาล และคณะกรรมการพัฒนาบุคลากร จํานวน 9 คน คัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือในการศึกษา คือ แนวการสนทนากลุ่มชนิดถึงมีโครงสร้าง และผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ได้ค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.66 – 1.00 ข้อมูลจากการศึกษาใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศีกษาพบว่า 1) สมรรถนะหลักที่สถาบันต้องการพัฒนามี 4 ด้าน ได้แก่ ด้านภาวะผู้นำ ด้านการบริหารจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านการสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ ด้านนโยบายและสิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพ นอกจากนี้ยังพบว่ามีการกำหนดนโยบายการพัฒนาสมรรถนะดังกล่าวไม่ชัดเจน ขาดแผนพัฒนาและแนวทางในการเตรียม พยาบาลวิชาชีพเข้าสู่ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย 2) แนวทางการพัฒนาพยาบาลวิชาชีพเข้าสู่ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วย การวางแผนสืบทอดตำแหน่ง การวางแผนพัฒนา การดำเนินการพัฒนา และการติดตามประเมินผลการพัฒนา รวมถึงให้ข้อเสนอแนะว่าควรกําหนดนโยบายและจัดทำแผนกลยุทธ์ สนับสนุนเงินงบประมาณและเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารสถาบันให้ความสำคัญกับแนวทางและให้ข้อเสนอแนะในการเตรียมพยาบาลวิชาชีพเข้าสู่ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย สามารถใช้ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นแนวทางสำหรับการบริหารจัดการ เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยในพยาบาลวิชาชีพให้เป็นตามเกณฑ์สภาวิชาชีพพยาบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพยาบาล--การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาสมรรถะพยาบาลวิชาชีพ เข้าสู่ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย สถาบันราชประชาสมาสัยth_TH
dc.title.alternativeHead nurse competency development guidelines at Raj Pracha Samasai Instituteen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were to study 1) the current situation of head nurse competency development at Raj Pracha Samasai Institute; and 2) guidelines for better head nurse competency development at the institute. The key informants were 9 members of the Raj Pracha Samasai Institute administrative team, consisting of personnel directors, nursing directors and human development directors. They were chosen through purposive sampling. The research tool was a semi-structured focus group discussion guide, the content validity index of which was rated at 0.66 - 1.00 consistency. Data were analyzed by content analysis. The results showed that 1) the main competencies that the institute wanted future head nurses to develop were in the fields of leadership, quality management/quality development, communication relationship building, and health environment, health policies. However, the institute had not yet set a clear policy about the development of competency in these areas. It lacked a development plan and guidelines for training and preparing potential new candidates for the position of head nurse. 2) The new guideline for developing the competency of head nurses consists of forming a succession plan, competency development planning, implementation, and evaluation. The key informants recommended that a policy should be set along with a strategic plan, and an appropriate budget and technology should be provided. The institute s administrators put priority on the guideline to develop the competency of nurses who can be promoted to the head nurse position. The results of this research can be applied to promote and develop competency among registered nurses in compliance with the regulations of the Thailand Nursing and Midwifery Council.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons