Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1962
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | มะลิ จันทร์ยาง, 2504- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-01T02:55:27Z | - |
dc.date.available | 2022-11-01T02:55:27Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1962 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรู้ เจตคติ และทักษะการนิเทศงานการพยาบาล (2) ศึกษาพฤติกรรมการนิเทศงานการพยาบาล ตาม กระบวนการนิเทศการพยาบาล (3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการนิเทศงานการพยาบาล ตามกระบวนการนิเทศงานการพยาบาลของหัวหนัาหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 264 คน ได้จากการ สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถาม 5 ส่วน คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้การนิเทศการพยาบาล เจตคติต่อการนิเทศงานการพยาบาล ทักษะการนิเทศงานการพยาบาล และพฤติกรรมการนิเทศงานการพยาบาลตามกระบวนการนิเทศ การพยาบาล แบบวัดความรู้การนิเทศงานการพยาบาลโดยใช้เป็นแบบทดสอบชนิดถูกผิด ซึ่งผ่าน การตรวจสอบความตรงเชิงเนี้อหาและมีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงแบบ KR 20 เท่ากับ .71 แบบวัด เจตคติต่อการนิเทศงานการพยาบาล ทักษะการนิเทศงานการพยาบาล และพฤติกรรมการนิเทศงาน การพยาบาลตามกระบวนการนิเทศงานการพยาบาล เป็นแบบสอบถามชนิด ประมาณค่า 5 ระดับ ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ของแบบสอบถาม เท่ากับ .82, .86, และ .94 ตามลำดับ สถิติที่ใช้การวิเคราะท์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะท์ถดถอยพหุคูณแบบ เพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความรู้การนิเทศงานการพยาบาล เจตคติต่อ การนิเทศงานการพยาบาล และทักษะการนิเทศงานการพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) พฤติกรรมการนิเทศงานการพยาบาลตามกระบวนการนิเทศงานการพยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับ มาก (3) ทักษะการนิเทศงานการพยาบาลมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการนิเทศงานการพยาบาลตาม กระบวนการนิเทศงานการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการนิเทศงานการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน เขตภาคเหนือ | th_TH |
dc.title.alternative | The factors influencing nursing supervision behaviors of head nurses at Community Hospitals, Northern Region | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to examine knowledge, attitudes, and skills of nursing supervision of head nurses, (2) to investigate nursing supervision behaviors of head nurses according to the process of nursing supervision, and (3) to find factors influencing nursing supervision behaviors of head nurses at community hospitals, Northern Region. The sample comprised 264 head nurses who worked at community hospitals. Northern Region. The multistage sampling technique was used for selecting the sample. Questionnaires were used as research tools and consisted of three parts: personnal data, knowledge, attitudes and skills of nursing supervision, and nursing supervision behaviors according to the process of nursing supervision. Knowledge of nursing supervision was measured by true and false tests and these tests were tested for content validity and reliability which KR 20 was.71. The Cronbach’s alpha coefficients of the attitudes and skills of nursing supervision and the process of nursing supervision behaviors were 0.82,0.86, and 0.94 respectively. The statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, and standard deviation, Pearson’s product- moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression. The findings were as follows. (1) Head nurses rated their knowledge, attitudes, and skills of nursing supervision at the high level. (2) They also rated their behaviors on the nursing supervision process at the high level. Finally, (3) skills of nursing supervision predicted nursing supervision behaviors significantly (p < .05), and this predictor accounted for 42.5% | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib122088.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License