Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1970
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | ตรีศักดิ์ รีละออง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขท้ยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-01T03:32:10Z | - |
dc.date.available | 2022-11-01T03:32:10Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1970 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | วิจัยเชิงปริมาณนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของประชากรที่เลือกใช้บริการในคลินิกหมอครอบครัว (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการใช้บริการในคลินิกหมอครอบครัว (3) ระดับความสำคัญของการตัดสินใจเลือกใช้บริการคลินิกหมอครอบครัว (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจใช้บริการในคลินิกหมอครอบครัว และ (5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดต่อการตัดสินใจเลือกการใช้บริการในคลินิกหมอครอบครัวประชาชนอำเภอพระนครศรีอยุธยา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 400 คน เป็นผู้รับบริการในคลินิกหมอครอบครัว 5 แห่งของอำเภอพระนครศรีอยุธยา โดยการสุ่มตัวอย่างแบบวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากประชาชนที่รับผิดชอบของคลินิกหมอครอบครัวระหว่าง 10 พฤศจิกายน ถึง 20 ธันวาคม 2560 โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงที่ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบโดยใช้สถิติไควร์สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของประชากรที่เลือกใช้บริการส่วนใหญ่เป็น เพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุ 51 -60 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี อาชีพธุรกิจส่วนตัว/ ค้าขาย สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า จำนวนครั้งใช้บริการ 2 – 5 ครั้ง (2) ภาพรวมปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการใช้บริการคลินิกหมอครอบครัวค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 อยู่ในระดับมากที่สุด (3) ภาพรวมระดับความสำคัญของการตัดสินใจเลือกใช้บริการในคลินิกหมอครอบครัวค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 อยู่ในระดับมากที่สุด (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจใช้บริการในคลินิกหมอครอบครัว พบว่าจำนวนครั้งที่มาใช้บริการมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการในคลินิกหมอครอบครัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < .05 และ (5) ความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนประสมการตลาดต่อการตัดสินใจเลือกการใช้บริการในคลินิกหมอครอบครัว พบว่ามีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p< .05 ทั้ง ด้านบริการด้านราคา ด้านสถานที่และช่องทางการรับบริการ การส่งเสริมการบริการ ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ และลักษณะทางกายภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | th_TH |
dc.subject | คลินิก--พฤติกรรมผู้บริโภค.--ไทย--พระนครศรีอยุธยา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการคลินิกหมอครอบครัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา | th_TH |
dc.title.alternative | The marketing mix factors effecting to choose health services of primary care cluster Phra Nakhon Si Ayutthaya District | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This quantitative research study aims to: (1) identify personal characteristics of clients; (2) examine marketing mix factors in deciding to attend Primary Care Clusters (PCCs); (3) determine the importance in making a decision to visit PCCs; and (4) examine the relationship between personal factors and decision-making in using PCCs, and (5) examine the relationship between marketing-mix factors and health-care decisions, all involving clients visiting the PCCs in Phra Nakhon Si Ayutthaya District. The 400 population employed in the PPC. Of Phra Nakhon Si Ayutthaya The sampling method is a specific sampling method. From the public at the PPC between November 10 to December 20, 2017 using the questionnaire. The reliability 0.96. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation And test by using the square statistics test. The results showed that: (1) among all respondents, most of them were female, aged 51-60 years, and married; mostly completed lower than a bachelor’s degree, had a private business or trading and used the services 2–5 times under the Universal Healthcare scheme; (2) the average score of marketing mix factors’ influence on PCC usage was 4.23, at the highest level; (3) the average score on overall importance of decision-making in using the PCC was 4.30, at the highest level; (4) regarding the relationship between personal factors and PCC use decisions, the number of PCC visits was significantly correlated with the PCC choice at p < .05; and (5) the marketing mix factors were significantly associated with PCC use decisions at p < .05, in terms of prices, locations and service channels, service promotion, personnel, service process and physical characteristics | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
158318.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License