Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1988
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | วาที ดิเรกศรี | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-02T02:50:48Z | - |
dc.date.available | 2022-11-02T02:50:48Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1988 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม (บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชัยภูมิ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านโรงพยาบาล กับผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชัยภูมิ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชัยภูมิ ประชากรคือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนของจังหวัดชัยภูมิ จำนวน 2,248 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น ได้จำนวนขนาดตัวอย่าง 328 คน ตัวแปรต้นคือ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านโรงพยาบาลและปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ตัวแปรตามคือ ผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 7 ด้าน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วยข้อคำถาม 3 ส่วนวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.965 สถิตที่ใช้วิเคราะห์คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาล ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง (2) ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านโรงพยาบาลคือ สถานการณ์รับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA ของโรงพยาบาลในปัจจุบันมีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพทั้ง 6 ด้าน มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดชัยภูมิ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยปัจจัยการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล และปัจจัยการจัดการกระบวนการ มีความสัมพันธ์ในระดับสูงกว่าปัจจัยอื่นๆ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--ไทย--ชัยภูมิ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--การรับรองคุณภาพ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชัยภูมิ | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between factors and the continuous quality improvement in community hospitals, Chaiyaphum Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of survey research were: (1) to factors supporting quality improvements and continuous quality improvement in community hospitals. Chaiyaphum Province; (2) to relationship between personal factors Hospital factor With continuous quality improvement results in community hospitals. Chaiyaphum Province; and (3) to relationship between factors supporting quality improvements and continuous quality improvement in community hospitals. Chaiyaphum Province. The study was conducted among 328 staff members selected fro, all 2,248 personnel at the hospitals, using the stratified sampling method. Independent variables were personal factors, hospital factors and supportive factors while dependent variables were seven aspects of outcomes of continuous quality improvements. Data were collected using questionnaire containing three parts with Cronbach’s alpha reliability coefficients of 0.965 respectively. Percentage, mean, standard deviation, Chi - square test and Pearson’s correlation coefficient were used for data analysis. The results showed that: (1) the overall supportive factors for continuous quality improvements were at the high level; (2) personal factors and hospitals factors is present HA-supporting hospital conditions. Was significantly associated with the outcomes of continuous quality improvements, p = 0.05; and (3) all six aspects of supportive factors for quality improvement were significantly associated with the outcomes of continuous quality improvements at the hospitals p = 0.05.The factors related to human resources and process management had the higher level of association than other factors | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
158782.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License