Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1992
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระวุธ ธรรมกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอังคณา วงศ์แสนสี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-02T03:19:37Z-
dc.date.available2022-11-02T03:19:37Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1992-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ ส.ม. (บริหารสาธารณสุข)-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยจากเหตุไปหาผลแบบย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สถานการณ์การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (2) ประสิทธิผลของรูปแบบที่พัฒนาในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจากอัตราการกำเริบเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉิน และสมรรถภาพปอด (3) ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และ (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล และการดูแลรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกับการเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย ประชากรคือผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย จังหวัดแพร่ ที่เข้ารับการรักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 - 2560 จานวน 208 คน โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เหลือติดตามได้ทั้งหมด จานวน 72 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบบันทึกข้อมูลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อัตรา ความแตกต่างของอัตรา การแจกแจงค่าความถี่แบบ 2 ทาง การทดสอบค่าที และสมการประมาณค่านัยทั่วไป ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจำนวน 72 คน มีประวัติเข้ารับรักษาด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย ระหว่างปี 2558 - 2560 จำนวน 1,719 ครั้ง ซึ่งเข้ารับการรักษาด้วยอาการกำเริบเฉียบพลันที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล จำนวน 330 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 19.2 (2) การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังหลังจากได้มีการพัฒนารูปแบบการดูแลแล้ว พบว่าอัตราการเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันจากจำนวนคนที่เข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินลดลง อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p= 0.73) และอัตราการเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันจากจำนวนครั้งที่เข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินสูงขึ้น อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p= 0.15) แต่เมื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพปอดจากค่าเฉลี่ย FEV1 (%Predicted) พบว่าสูงกว่ารูปแบบเดิมแสดงถึงผู้ป่วยสมรรถภาพปอดที่ดีขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ( p< 0.05) (3) ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังรูปแบบที่พัฒนาแล้วมีแนวโน้มสูงขึ้น และ (4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p< 0.05) ได้แก่ อายุ การสูบบุหรี่ ความจำเป็นในการมีผู้ดูแล ระดับความรุนแรงของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรคปอดth_TH
dc.subjectผู้ป่วยโรคเรื้อรัง--การรักษาth_TH
dc.titleประสิทธิผลของรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคปอดอุกกั้นเรื้อรังโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัยth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of care model for patients with Chronic obstructive pulmonary disease at Denchai Crown Prince Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this retrospective cohort research were to study: (1) the situation of acute exacerbations in patients with Chronic obstructive pulmonary disease(COPD); (2) the effectiveness of the model developed for the care of COPD patients admitted to the emergency room(ER) based on acute exacerbations rates and spirometry or lung function test; (3) medication adherence among COPD patients; and (4) the relationship between personal characteristics as well as COPD care and acute exacerbations in COPD patients who visited to the Emergency Room at Denchai Crown Prince Hospital, in Phrae Province The study was conducted in a sample of 72 out of 208 COPD patients who received treatment at Denchai Crown Prince Hospital and could be followed up in 2015-2017. Data were collected using a data recording form created by the researcher and then analyzed to determine frequencies, percentages, means, standard deviations, rates, rate differences, two-parameter frequency distribution, using t-test and generalized estimating equation (GEE). The results demonstrated that, among the 72 COPD patients under medical attention at Denchai Crown Prince Hospital in 2015 - 2017: (1) they made 1,719 visits to the hospital’s emergency room and had 330 acute exacerbation (19.2%); (2) after the care model has been developed and used, the acute exacerbation rate among ER-COPD patients decreased insignificantly (p = 0.73) and the acute exacerbation rate based on the number of ER-COPD visits increased insignificantly (p = 0.15), but based on their spirometric value comparison, the average FEV1(% predicted) was higher than the previous model, indicating patients’ significantly improved lung function (p< 0.05);(3) their medication adherence had a rising trend; and (4) the factors significantly related to the occurrence of acute exacerbations (p< 0.05) included age, smoking, need for caregivers, COPD severity and medication adherenceen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163629.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons