Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2004
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วินัด อ่วมอยู่, 2519- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา. | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-03T03:14:35Z | - |
dc.date.available | 2022-11-03T03:14:35Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2004 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร (2) สภาพการผลิตกล้วยไข่ของเกษตรกร (3) การตลาดกล้วยไข่ และ (4)ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตและการตลาดกล้วยไข่ของเกษตรกร ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) ผู้ให้ข้อมูลเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุเฉลี่ย 52.14 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.28 คน แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.23 คน พื้นที่ทาการเกษตรเฉลี่ย 22.94 ไร่ รายได้ทั้งหมดของครัวเรือนเฉลี่ยปีละ 294,474.53 บาท รายจ่ายภาคการเกษตรเฉลี่ย 108,608.59 บาท หนี้สินเฉลี่ย 191,441.86 บาท พื้นที่ปลูกกล้วยไข่เฉลี่ย 5.48 ไร่ มีประสบการณ์เฉลี่ย 15.56 ปี 2) ปลูกเป็นอาชีพหลัก จ้างแรงงานรายวันช่วยในการผลิต ต้นทุนการผลิตต่อไร่เฉลี่ย 5,355.30 บาท ใช้ทุนส่วนตัว ผลิตผลที่ได้เฉลี่ย 2,673.72 กิโลกรัมต่อไร่ พื้นที่ปลูกเป็นที่ราบ ดินร่วนปนทราย ไม่เคยเก็บตัวอย่างดินไปวิเคราะห์ ใช้พันธุ์กำแพงเพชร แหล่งพันธุ์จากในท้องถิ่น มีประวัติดี มีการตัดแต่งหน่อและใบ ตัดปลีเมื่อกล้วยติดผลจนหวีสุดท้าย มีการคัดเลือกหน่อ น้ำให้แบบลาดตามร่อง ใช้น้ำจากบ่อบาดาล ให้น้ำเฉลี่ยปีละ 23.48 ครั้ง ไม่มีการป้องกันความเสียหายจากลมพายุ ไม่มีการระบาดของแมลง มีการระบาดของโรค โรคที่พบมากได้แก่โรคใบไหม้ช่วงเดือนพฤษภาคม–สิงหาคม ป้องกันกำจัดโดยฉีดพ่นสารเคมี การกำจัดวัชพืชเฉลี่ย 6.40 ครั้งต่อปี โดยฉีดพ่นสารเคมี ไม่ใช้สารเคมีหลังติดผลและไม่ห่อเครือ การเก็บเกี่ยวสังเกตจากผลจะมีลักษณะกลม ใช้คนแบกหามออกจากสวน ไม่ทำความสะอาดผลิตผล การจัดการสวนหลังเก็บเกี่ยวโดยการปลูกใหม่ 3) จาหน่ายผลิตผลให้พ่อค้า/แม่ค้าในท้องถิ่นที่มาซื้อในสวนและเป็นผู้กำหนดราคา โดยการขายส่ง มีการคัดเกรด ขายเป็นตั้งเฉลี่ยตั้งละ 111.25 บาท ชำระเงินตามจำนวนผลิตผลที่ซื้อขายเป็นครั้งๆ ไม่มีการรวมกลุ่มจาหน่ายและแปรรูปผลิตผล ใช้ข้อมูลการตลาดในการติดสินใจผลิตกล้วยไข่ 4) ปัญหาที่พบได้แก่ ปัญหาต้นกล้วยไข่หักล้มอยู่ในระดับมาก และปัญหาโรคและแมลงศัตรูกล้วยไข่อยู่ในระดับน้อย ข้อเสนอแนะของเกษตรกรควรพัฒนาและสนับสนุน การใช้เทคโนโลยีการผลิตเพื่อเพิ่มปริมาณผลิตผล การผลิตให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย การผลิตและใช้จุลินทรีย์ชีวภาพในการควบคุมโรคและแมลง อยู่ในระดับมาก และส่งเสริมและพัฒนาการผลิตเพื่อการส่งออก การใช้เทคโนโลยีการเก็บรักษาและแปรรูป การใช้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการขนส่ง อยู่ในระดับปานกลาง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/ 10.14457/STOU.the.2013.72 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กล้วยไข่--ไทย--กำแพงเพชร--การผลิต. | th_TH |
dc.subject | กล้วยไข่--ไทย--การตลาด. | th_TH |
dc.title | การผลิตและการตลาดกล้วยไข่ของเกษตรกรในจังหวัดกำแพงเพชร | th_TH |
dc.title.alternative | Kluay Khai Production and Marketing by Farmers in Kamphaeng Phet Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.72 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study (1) socio-economic status of farmers, (2) conditions of Kluay Khai production by farmers, (3) Kluay Khai marketing of farmers, and (4) problems and suggestions for Kluay Khai production and marketing by farmers. The population in this study was a number of 125 Kluay Khai farmers in Kamphaeng Phet Province. Data were collected from 86 sample derived by using Taro Yamane’s formula and interviewed questionnaire was employed. Data were analyzed by using statistics, such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, and standard deviation. The results of this research were concluded that (1) There were more female than male informants, with an average age of 52,14 years and completed primary education. The average number of family member was 4.28 persons. The average number of household labor was 2.23 persons. The average farm area was 22.94 rai (1 rai = 1,600 square meters). The total average household income was 294,474.53 baht. The average farm expense was 108,608.59 baht. The average debt was 191,441.86 baht. The average Kluay Khai planted area was 5.48 rai. The average experience in Kluay Khai production was 15.56 years. 2) Kluay Khai production was their main occupation. Daily labor was hired in assisting production. The average production cost was 5,355.30 baht/rai spending out from their personal capital. The average yield was 2,673.72 kg/rai. Planting area was plain and sandy loam. They had never collected soil for analysis. Kamphaeng Phet variety, a local variety with good background was mostly planted. Shoots and leaves were trimmed. Banana flower would be cut when bearing fruits and the last hand of banana appeared. Shoots were selected. Watering was channel flow by groundwater with averagely 23.48 times per year. There was no damage prevention from storm. No insect outbreak was found, but there was disease outbreak. The most found disease was leaf blight during May to August. Chemical substance was sprayed for protection, eradication of weed flora was carried out averagely 6.40 times per year by spraying chemical substance. Chemical substance was not used after fruiting and no more hand of banana. In the harvest, when banana fruit became round, labor carried away from orchard without cleaning. Orchard management after harvest was new planting cycle. 3) They sold the produces to local merchants coming for wholesale at the orchard and indicated the price. Produces were selected and sold in heap, 111.25 baht for a heap. Payment was made at a time of selling. They did not form a group for selling and processing. They used marketing data for making decision to produce Kluay Khai. 4) Problem of fallen Kluay Khai tree was found at “much” level while disease and insects of Kluay Khai were found at “a little” level. Suggestions by farmers at “much” level were development of technology utilization to increase yield, standard and safety production, and microbial utilization for pest control, while promotion and production development for export, technology utilization for storage and processing, and appropriate packaging for transfer were at “moderate” level. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
144578.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License