Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปิยะนันต์ อิสสระวิทย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฑาทิพย์ หิรัญสาลี, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-03T06:09:12Z-
dc.date.available2022-11-03T06:09:12Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2012-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาระบบการจัดอัตรากำลังทางการ พยาบาลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โรงพยาบาลชลประทานและ (2 ) เปรียบเทียบประโยชน์ของการใช้ระบบการจัด อัตรากำลังทางการพยาบาล ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ก่อนและหลังการพัฒนา การวิจัยนี้ใช้หลักการวิเคราะห์และออกแบบพัฒนาระบบการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาลด้วย อิเล็กทรอนิกส์ และใช้โปรแกรมวิชวลเบสิกสตูดิโอดอทเน็ต (2008 (Visual basic studio.net 2008) และวัดผลลัพธ์ ด้านประโยชน์ต่อการจัดอัตรากำลังจากการสอบถามความต้องการของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งได้จากการคัดเลือกอย่างเจาะจง จำนวน 18 คน เครื่องมีอที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) ระบบการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาลด้วยอิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาขึ้น ชึ่งได้ผ่านการทดสอบระบบตามมาตรฐาน Capability Maturity Model Integration (CMMI) (2) เครื่องมีอที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามประโยชน์ของระบบการจัดอัตรากำลังด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ชึ่งได้ผ่านการหาความตรงตามเนี้อหาและความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ Paired t-test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ระบบที่สร้างขึ้นสามารถใช้จัดอัตรากำลังทางการพยาบาลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตั้งแต่การวางแผนอัตรากำลัง การจัดตารางเวรปฏิบัติงาน และการจัดสรรอัตรากำาลังมีความ สอดคล้องกับองค์ประกอบของกระบวนการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล โดยสามารถวิเคราะห์และวางแผน กาวจัดอัตรากำลังได้สะดวก เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ประหยัดเวลา ทรัพยากรและแรงงาน และตรวจสอบผลผลิต ทางการพยาบาลได้อย่างถูกต้อง (2) ประโยชน์ของการจัดอัดรากำลังทางการพยาบาลด้วยระบบใหม่นี้ ทั้งโดยรวม และรายด้านหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.251en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลชลประทานth_TH
dc.subjectพยาบาล -- อัตรากำลังth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาลด้วยอิเล็กทรอนิกส์โรงพยาบาลชลประทานth_TH
dc.title.alternativeThe development of an electronic nursing staffing system at Royal Irrigation Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.251en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (1) to develop an electronic staffing system at Royal Irrigation Hospital and (2) to compare the advantages of the electronic staffing system before and after implementation. The design and development principles were used for developing the electronic staffing system, and visual basic studio.net 2008 was used as a development tool. The advantages of the system were assessed by 18 professional nurses who were subjects of this study. These subjects were selected by the purposive sampling technique. Two types of research tools were used. (1) An experimental tool was the electronic staffing system which was tested in accordance with Capability Maturity Model Integration (CMMI). (2) A data collection tool was questionnaires of advantages of the electronic staffing system. The validity of the tools was verified by five experts. The Cronbach’s alpha reliability coefficient of the second tool were 0.84. Research data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, and paired t-test. The major findings were as follows. (1) The new electronic nursing staffing system worked efficiently and included staffing planning, scheduling, and allocation which were relevant to the components of the nursing staffing process. The new system facilitated staffing analysis and planning. Data can be easily accessed. The new system helped to save time, resources, and energy. The new system also played a role in verifying staffing productivity accurately. (2) The advantages of the new staffing system were significantly higher than before applying the new system (p< 0.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib128417.pdfเอกสารฉบับเต็ม32.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons