Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพีรพล สุธงษา, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-04T02:49:08Z-
dc.date.available2022-11-04T02:49:08Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2021-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) สภาพการผลิตและการตลาดมะระหวานของเกษตรกร (3) การปฏิบัติตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร และ (4) ปัญหาและความต้องการการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตและการตลาดมะระหวานของเกษตรกร ผลการศึกษาพบว่า (1) เกษตรกรเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง อายุเฉลี่ย 49.48 ปี จบชั้นประถมศึกษาหรือต่ากว่า รายได้จากการปลูกมะระหวานเฉลี่ย 362,321.40 บาท/ปี พื้นที่ปลูกมะระหวานเฉลี่ย 2.19ไร่ แรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 2.18 คน ประสบการณ์ปลูกมะระหวานเฉลี่ย 7.95 ปี ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 47,410.65 บาท/ไร่/ปี เกษตรกรที่เก็บยอดมีรายได้สูงสุดเฉลี่ย 183,011.18 บาท/ไร่/ปี เกษตรกรที่เก็บผลมีต้นทุนการผลิตต่าสุดเฉลี่ย 28,949.13 บาท/ไร่/ปี เกษตรกรที่เก็บทั้งผลและยอดมีกำไรสูงสุดเฉลี่ย 135,925.07 บาท/ไร่/ปี (2) พื้นที่ปลูกมะระหวานเป็นทั้งที่ราบและลาดชันบนเนินเขา ใช้น้ำจากลำห้วย ลำคลอง และสระน้ำ เกษตรกรเริ่มปลูกมะระหวานตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปูนขาวในการปรับปรุงบำรุงดิน มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนพื้นที่ปลูกเป็นประจำทุกครั้ง เริ่มเก็บเกี่ยวผลอ่อนได้เมื่ออายุเฉลี่ย 103.08 วัน และยอดอ่อนอายุเฉลี่ย 55.27 วัน ไม่มีการคัดเกรดก่อนจำหน่าย จำหน่ายให้พ่อค้าคนกลางที่มารับซื้อถึงแปลง ผลอ่อนมีราคาต่าสุดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกันยายน สูงที่สุดในช่วงเดือนธันวาคมและมกราคม ยอดอ่อนมีราคาต่ำสุดเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน และราคาสูงสุดคือเดือนธันวาคมและมกราคม (3) เกษตรกรมีการปฏิบัติตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีเป็นประจำ ยกเว้นการจดบันทึกข้อมูล (4) เกษตรกรส่วนมากไม่ประสบปัญหาด้านการผลิตและการตลาด มีส่วนน้อยที่มีปัญหา เรื่องดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ภัยธรรมชาติ และความแปรปรวนของสภาพอากาศ เกษตรกรต้องการเทคโนโลยีในการผลิตเพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตเฉลี่ย/ไร่ให้สูงขึ้น ต้องการการขอรับการรับรองมาตรฐานตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และการขอการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมะระหวาน--การผลิตth_TH
dc.subjectมะระหวาน--การตลาดth_TH
dc.titleการผลิตและการตลาดมะระหวานของเกษตรกรในอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeChayote production and marketing by farmers in Khao Kho District of Phetchabun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) fundamental social and economic status of farmers, (2) situations of chayote production and marketing, (3) good agricultural practice by farmers, and (4) problems and needs of farmers for the extension and development of chayote production and marketing. The population in this study was 231 farmers who had produced chayote in Khao Kho District of Phetchabun Province, 147 samples were determined by using Taro Yamane. The data were collected by using interviewed questionnaire and analyzed by statistical methods including frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, and standard deviation. The findings of this study were as follows: (1) there were more male than female farmers; the average age was 49.48 years; they finished primary education or lower. The average income obtaining from selling chayote was 362,321.40 Baht/year. The average of the area using for growing chayote was 2.19 Rai (1 Rai = 1,600 square meters); the average number of farm labor was 2.18 persons; the average experience in growing chayote was 7.95 years; and The average of production cost was 47,410.65 Baht/Rai. The famers who grew chayote for selling plant-top earning the highest income with an average of 183,011.18 Baht/Rai/year; those who grew for selling fruit had the lowest cost with an average of 28,949.13 Baht/Rai/year; and those who sold both plant-top and fruit earning the highest profit with an average of 135,925.07 Baht/Rai/year. (2) The farmers usually grew chayote on the plain or slope of the hill. The water sources were streams, canals, and ponds. They usually grew chayote from August to October. Organic fertilizer and lime were applied to improve and fertilize the soil. They circulated the area in growing young plants regularly. Young chayote would be harvested at the average age of 103.08 days, and young vegetable top would be cut at the average age of 55.27 days. No grading was used for selling chayote through the merchant at the farm. The lowest price of young fruit was during February to September while the highest price was in December and January. The lowest price of young plant-top price was from March to June, while the highest price was in December and January. (3) The farmers practiced adhering to Good Agricultural Practice regularly, except keeping record of the data. Hence, (4) most farmers hadn’t have production and marketing problems; only a few farmers faced problems in unfertile soil, natural disaster, and unstable climate. The farmers would like to have support of production technology in order to increase the yield per Rai. They also would like to have Good Agricultural Practice (GAP) or organic agriculture certification.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144726.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons