Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2030
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | นีรนุช ตาละกา, 2528- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-04T03:54:01Z | - |
dc.date.available | 2022-11-04T03:54:01Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2030 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกสหกรณ์โคนมการเกษตรไชยปราการ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ 2) สภาพการผลิตโคนมของสมาชิกสหกรณ์โคนมการเกษตรไชยปราการ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ 3) ปัญหา ข้อเสนอแนะในการผลิตโคนมของสมาชิกสหกรณ์โคนมการเกษตรไชยปราการ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า (1) สมาชิกสหกรณ์โคนมการเกษตรไชยปราการ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ กว่าครึ่งเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.17 ปี สมาชิกหนึ่งในสามจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4 มีจานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.99 คน ประอาชีพทำนาทำสวนร่วมกับการเลี้ยงโคนม มีประสบการณ์ในการเลี้ยงโคนมเฉลี่ย 10.86 ปี เกือบทั้งหมดได้รับการฝึกอบรมการเลี้ยงโคนม สมาชิกส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มลูกค้า ธ.ก.ส. มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นแรงงานเฉลี่ย 2.28 คน มีจำนวนแรงงานที่จ้างเฉลี่ย 2.85 คน มีอาชีพการเลี้ยงโคนมเป็นอาชีพหลัก มีพื้นที่ถือครองด้านการเกษตรเฉลี่ย 23.31 ไร่ (2) พันธุ์ที่เลี้ยง คือ พันธุ์ขาวดา หรือพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชียน เลี้ยงปล่อยในคอกแล้วตัดหญ้าให้กิน รีดนมใช้เครื่องแบบ 4 หัวรีด แหล่งอาหารหยาบส่วนใหญ่ได้จากแปลงหญ้าของตนเอง ใช้อาหารข้นสำเร็จรูปของบริษัท แร่ธาตุที่ใช้แบบก้อนและผง มีเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์มารักษาโรค ผสมเทียมและฉีดวัคซีนให้ อัตราการผสมติดเฉลี่ย 2.32 ครั้ง สมาชิกเกือบทั้งหมดได้รับการรับรองมาตรฐานฟาร์มโคนม ใช้นมสดเลี้ยงลูกโค หย่านมลูกโคเมื่ออายุเฉลี่ย 3.30 เดือน จำนวนโคนมเริ่มต้นเลี้ยงเฉลี่ย 10.12 ตัว จำนวนโคนมที่มีอยู่ในปัจจุบันเฉลี่ย 51.03 ตัว ต้นทุนในการเลี้ยงโคนมเฉลี่ย 784,000 บาท/ปี ผลตอบแทนในการเลี้ยงโคนม 1,150,000 บาท/ปี (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะของสมาชิกสหกรณ์โคนมการเกษตรไชยปราการ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ ในการผลิตโคนมส่วนใหญ่ประสบปัญหามากในด้านต้นทุนในการผลิตสูงด้านการตลาดได้แก่ราคาน้ำนมดิบต่ำข้อเสนอแนะในการผลิตโคนมของสมาชิกในด้านเงินทุนหน่วยงานรัฐและองค์กรที่เกี่ยวข้องควรจัดหาแหล่งเงินทุนสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรเพื่อแก้ไขปัญหาระยะยาว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.378 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โคนม--การเลี้ยง--ไทย--เชียงใหม่. | th_TH |
dc.subject | โคนม--การผลิต | th_TH |
dc.title | การผลิตโคนมของสมาชิกสหกรณ์โคนมการเกษตรไชยปราการ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Dairy production of the members of Chaiprakarn dairy and Agricutural Cooperatives Ltd. Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.378 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study 1) members’ socio-economic circumstance of Chaiprakarn Dairy Agriculture Cooperatives Ltd. In Chiang Mai 2) members’ milk cow production circumstance of Chaiprakarn Dairy Agriculture Cooperatives Ltd in Chiang Mai Province 3) problems and suggestions for milk cow production of Chaiprakarn Dairy Agriculture Cooperatives by members in Chiang Mai Province. The population in this study was a number of 200 members’ Chaiprakarn Dairy Agriculture Cooperatives in Chiang Mai Province. Data was collected from all of them. Instrument was interview form. Data was analyzed by computer program using frequency distribution, percentage, minimum value, maximum value and standard deviation. Findings were as follows. (1) Over half of most members’ Chaiprakarn Dairy Agriculture Cooperatives Ltd., in Chiang Mai Province were male with their average age at 49.17 years. One-thirds completed Prathom 4. Their average number of household members was 3.99 persons. Their occupation included rice farming, fruit orchard associated with milk cow production. Their average experience in milk cow production was 10.86 years. Nearly all of them had been trained on milk cow production. Most of them were customers of the Cooperatives Group and the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives. Their average number of household labor was 2.28 persons while their average number of hired labor was 2.85 persons. Milk cow production was their main occupation. Their average agricultural occupied land was 23.31 rai. (2) They raised Holstein milk cow, leaving in the cowshed feeding with cut grass, using milking machine, source of roughage mainly from their own grass plot, using readymade concentrate from private company, using mineral block and powder, livestock officer would come to give medical treatment, artificial insemination and vaccine injection. The average successful insemination was 2.32 times. Nearly all of them received dairy farm standardization. The average fresh milk used The average calves’ age when weaning was 3.33 months. Their average number of first milk cow production was 10.12 cows. Their average number of current milk cow production was 51.03 cows. Their average cost in milk cow production was 784,000 baht/year. Their average profit in milk cow production was 1,150,000 baht/year. (3) Problems and suggestion of members’ Chaiprakarn Dairy Agriculture Cooperatives Ltd., most of them encountered high cost of production problem at high level, in marketing aspect i.e. low price of raw milk. They therefore suggested the government and offices concerned should find the financial support source for them to solve problem in the long run. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
144897.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License