Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2034
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วิจิตรา กุสุมภ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สายทิพย์ ไชยรา, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-04T06:58:50Z | - |
dc.date.available | 2022-11-04T06:58:50Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2034 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบรายงานการส่งเวรด้วย กระบวนการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสกลนคร และ (2) ศึกษาผลของการใช้รูปแบบรายงาน การส่งเวรด้วยกระบวนการพยาบาล ในด้านคุณค่าของรูปแบบรายงานการส่งเวรก่อนและหลังการพัฒนา กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชิพ ที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤติศัลยกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสกลนคร จำนวน 13 คน ได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) รูปแบบ รายงานการส่งเวรด้วยกระบวนการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น (2) โครงการอบรมพยาบาลวิชาชีพ และแบบทดสอบ ความรู้เรื่องการรายงานการส่งเวรด้วยกระบวบการพยาบาล และ (3) แบบสอบถามคุณค่าของรูปแบบรายงานการ ส่งเวรด้วยกระบวนการพยาบาลตามการรับเของพยาบาลวิชาชิพ เครื่องมือวิจัยได้ผ่านการหาความตรงเชิงเนื้อหา วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม คุณค่าของรูปแบบรายงานการส่งเวรด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า ของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที กรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) รูปแบบรายงานการส่งเวรที่พัฒนาขึ้นเป็นแบบแผนรายงานการส่งเวร ในรูปแบบของ “การประเมินสภาพ – ข้อวินิจฉัยการพยาบาล – กิจกรรมการพยาบาล - การประเมินผล'' ตามกระบวนการพยาบาล โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลรายงานการส่งเวรในรูปแบบเดียวกันกับรายงานการส่งเวร ทำ ให้รายงานการส่งเวรและรับเวรเป็นไปในแนวเดียวกัน ครอบคลุมความต้องการของผู้ป่วยแบบองค์รวม และการ ดูแลอย่างต่อเนื่อง และ (2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณค่าของรูปแบบรายงานการส่งเวรด้วยกระบวนการพยาบาล โดยรวมหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (p< 0.01) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/ 10.14457/STOU.the.2011.247 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเขียนรายงาน | th_TH |
dc.subject | บันทึกการพยาบาล | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบรายงานการส่งเวรด้วยกระบวนการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสกลนคร | th_TH |
dc.title.alternative | The Development of a change of shift report model based on a nursing process conducted by professional nurses at Sakon Nakhon Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.247 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research and development were: (1) to develop a new change of shift report model based on a nursing process conducted by professional nurses at Sakon Nakhon Hospital, and (2) to study the outcomes of using the new model in term of the value of the change of shift report model before and after implementation. The sample comprised 13 professional nurses who worked at the Semi- Critical Neuro- Surgery Department at Sakon Nakhon Hospital. They were selected by purposive sampling. Three research tools were used: (1) the developed change of shift report model, (2) a training project and a test of knowledge about change of shift report, and (3) the value of the new' change of shift report model questionnaires. All tools were tested for validity. The reliability of the third tool done by Cronbach’s alpha coefficient was 0.90. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and paired t-test. The major findings were as follows. (1 )The new change of shift report model was developed based on the nursing process, and this model included “assessment-nursing diagnosis-nursing activity-evaluation format”. Both record forms and report forms of the model were similar. Thus, this model provided only one guideline and covered holistic and continuous care. (2) The mean score of the value of the change of shift report model after the development was significantly higher than prior to the development at the level 0.01 (p< 0.01) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib128941.pdf | เอกสารฉบับต็ม | 23.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License