Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญจง แซ่จึ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษดา จวนวันเพ็ญ, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-04T07:49:50Z-
dc.date.available2022-11-04T07:49:50Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2038-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การจัดการดูแล ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันในสถาบันโรคทรวงอก (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันในสถาบันโรคทรวงอก (3) เพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการดูแล ผู้ป่วยรายกรณีที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่พัฒนาขึ้น ผู้ให้ข้อมูลมี 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มพัฒนารูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยรายกรณีสำหรับการดูแลผู้ป่วย ภาวะกล้ามหัวใจตายเฉียบพลัน ประกอบด้วย ผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่นอนพักรักษาตัวใน สถาบันโรคทรวงอก จำนวน 6 คน ผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่มาดูแลผู้ป่วยในสถาบันโรค ทรวงอก จำนวน 9 คน และผู้ให้บริการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน จำนวน 12 คน 2) กลุ่มประเมินความเหมาะสมในการนำรูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยรายกรณีสำหรับการดูแลผู้ป่วยภาวะกล้ามหัวใจตายเฉียบพลันที่สร้างขึ้นไปใช้ ประกอบด้วยผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงในการจัดการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ประเด็นการสนทนา ที่สร้างจากแนวคิดการจัดการดูแลเชิงระบบร่วมกับกระบวนการจัดการดูแลผู้ป่วยรายกรณีตามแนวคิดเพาเวลล์ (Powell, 1996) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยรายกรณีสำหรับการดูแลผู้ป่วยภาวะกล้ามหัวใจตายเฉียบพลัน ส่วนที่ 2 แบบประเมินความเหมาะสมในการนำรูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยรายกรณีไปใช้เครื่องมือทั้ง 2 ส่วน ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน มีค่า CVI 0.87 และ 0.85 ตามลำดับ ผู้วิจัยเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยและร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า (1) สถาบันมีแนวทางการจัดการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่ สามารถช่วยชีวิตผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉินได้อย่างปลอดภัย แต่การดำเนินการยังขาดการการประสานและส่งต่อ ระหว่างทีมสหวิชาชีพ (2) รูปแบบที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) องค์ประกอบด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาท 2) องค์ประกอบด้านผู้ให้บริการหรือทีมสหวิชาชีพ 3) องค์ประกอบด้านผู้รับบริการหรือผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย 4) องค์ประกอบด้านชุมชม หรือโรงพยาบาลใกล้บัาน (3) รูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม กับบริบทของสถาบันโรคทรวงอก โดยมีค่าคะแนนความเชื่อมั่นโดยรวมทุกมิติเท่ากับ ร้อยละ 90.19 ข้อเสนอแนะในการนำรูปแบบที่พ้ฒนาขึ้นไปใช้ควรมีการนำสู่การทดลองปฎิบัติเต็มรูปแบบและมีการประเมินผลเป็นระยะ พร้อมทั้งนำผลที่ได้มาพัฒนาอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.248en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectผู้ป่วย -- การดูแลth_TH
dc.subjectหัวใจ -- โรค -- การพยาบาลth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการพยาบาลผู้ป่วยรายกรณีสำหรับการดูแลผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันth_TH
dc.title.alternativeThe development of a case management model for patients with acute myocardial infarctionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.248en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were: (1) to analyze the situation of nursing care management for patients with Acute Myocardial Infarction at the Central Chest Institute of Thailand, (2) to develop the care management model for patients with Acute Myocardial Infarction at the Central Chest Institute of Thailand, and (3) to evaluate the appropriateness of the developed case management model for patients with Acute Myocardial Infarction. The key informants comprised 2 groups. The first group developed the case management model and included 6 in-patients who were admitted with acute myocardial Infarction in the Central Chest Institute of Thailand, 9 caregivers, and 12 health care providers who took care of these patients. The second group evaluated the appropriateness of the developed case management model and included 12 specialists in acute myocardial Infarction. Two research tools were used: 1) a tool for developing the model of case management for patients with acute myocardial infarction based on a systemic approach and Powell’s case management model and 2) an evaluation form for evaluating the developed case management model. The content validity index of the tools was verified by 5 experts, and it was 0.87 and 0.85 respectively. The data were collected by the researcher. Qualitative data were done by content analysis; whereas, quantitative data were analyzed by descriptive statistics (frequency, mean, and percentage). The research findings are as follows. 1) The institute had case management guidelines for emergency patients with acute myocardial infarction and these guidelines could save life of patients but there was no co-operation among health care provider teams. 2) The developed model consisted of 4 factors: policy and strategy of the Institute, provider teams, patients and their relative, and communities or hospitals which were near patients’ homes. 3) The developed model was appropriated for the context of the Central Chest Institute of Thailand, and its reliability scores were 90.19%. This model may be applied to other hospitals, and users must follow the instruction of the management process strictly and completely as well as evaluate the results regularlyen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib128943.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons