กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2048
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรชุลีย์ นิลวิเศษ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนภา ศรีนวล, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-07T03:45:39Z-
dc.date.available2022-11-07T03:45:39Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2048-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกร (2) รายได้และรายจ่ายของครัวเรือนเกษตรกร (3) มูลเหตุการเป็นหนี้นอกระบบของเกษตรกร และ (4) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของเกษตรกรเกี่ยวกับแนวทางการลดการเป็นหนี้ในครัวเรือนและหนี้นอกระบบ ผลการวิจัย พบว่า (1) ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้ให้ข้อมูล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงและจบชั้นประถมศึกษา มีอายุเฉลี่ย 49.0 ปี สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 5.0 คน แรงงานทำการเกษตรเฉลี่ย 3.1 คน ทั้งหมดประกอบอาชีพการเกษตร ส่วนใหญ่มีที่ดินเป็นของตนเอง เฉลี่ย 18.16ไร่ (2) รายได้รวมของครัวเรือนเฉลี่ย 71,590.2 บาทต่อปี รายจ่ายรวมเฉลี่ย 97,918.8 บาทต่อปี โดยส่วนใหญ่ของรายรับและรายจ่ายในครัวเรือนอยู่นอกภาคการเกษตร ทาให้เกษตรกรกลุ่มนี้มีหนี้เพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 57.6 และมีหนี้ลดลงร้อยละ 20.7 ที่เป็นมูลเหตุของการมีหนี้อยู่ทั้งในและนอกระบบ (3) เกษตรกรผู้ให้ข้อมูลร้อยละ 98.9 เห็นว่ามูลเหตุการเป็นหนี้นอกระบบคือการที่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นและมีรายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย โดยสาเหตุที่มีความสาคัญในระดับมาก คือ การไม่มีอาชีพเสริม ขาดแหล่งเงินทุน/เงินกู้ไม่เพียงพอ ต้นทุนการผลิตสูง ปริมาณ/คุณภาพผลผลิตต่า การมีรายได้ต่า /ไม่ต่อเนื่อง รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการเกษตรและค่าใช้จ่ายนอกภาคการเกษตรสูง นอกจากนี้ยังพบปัจจัยที่มีผลต่อมูลเหตุการเป็นหนี้นอกระบบตามความคิดเห็นของเกษตรกรอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ รายจ่ายรวมและจำนวนหนี้สินในระบบมีผลต่อความคิดเห็นของเกษตรกรในเรื่องการขาดการส่งเสริมอาชีพจากภาครัฐทางการผลิตและเงินทุน (4) เกษตรกรผู้ให้ข้อมูลเห็นว่าการฝึกอาชีพให้แก่เกษตรเป็นแนวทางการลดการเป็นหนี้ในครัวเรือนและการเป็นหนี้ในระบบ ซึ่งมีความเห็นว่าเป็นแนวทางที่สำคัญที่สุด ส่วนการลดดอกเบี้ยหนี้เงินกู้ในระบบ การพักชำระหนี้ การเพิ่มแหล่งเงินกู้ในระบบ มีความสาคัญลำดับถัดมาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://doi.org/10.14457/STOU.the.2012.331-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเกษตรกร--การเงินth_TH
dc.subjectการกู้ยืมส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectเงินกู้ส่วนบุคคลth_TH
dc.titleมูลเหตุการเป็นหนี้นอกระบบของเกษตรกรในเขตอำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeThe informal loan causes of farmers in Pla Pak District of Nakhon Phanom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.331-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) general information of farmers, (2) incomes and expenses of farmers’ households, (3) informal loan causes of farmers, and (4) opinions and recommendations of farmers to reduce household loans and informal loans. The population of this study were farmers who registered to request helping from government through Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives in Pla Pak Branch, Nakhon Phanom Province, under the second phase of the People Debts Solving Project. The sample size was calculated by Yamane’s formula at 10 % of sampling error. Data were collected by using an interviewed questionnaire and statistical methods used for data analysis were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The research results were found that (1) most of the respondents were female and finished primary education level. The average age was 49.0 years old and number of member in family was an average of 5.03 persons with an average of 3.10 persons occupied as farm labor. Most of their families had main occupation in agriculture and had their own farming land with an average of 18.16 Rai. (2) The averages of total household incomes and expenses were 71,590.22 Baht per year and 97,918.17 Baht per year, respectively. The majority of incomes and expenses were in non-agricultural sector that made them gained increasing debts at 57.6 %, at the same time decreasing debts were at 20.7 %. These were the causes to make them still had formal and informal loans. (3)The respondents accounting of 98.9% perceived that the informal loan causes were the increasing expenses and insufficient incomes. The informal loan causes as classified at much important level were non-additional occupation, lack of source of investment funds, high production costs, low quantity/quality of production, low/non-continuous incomes, and high agricultural and non-agricultural expenses. Hence, it was found that some causes significantly affecting the informal loan at statistical level 0.05 were total expenses and formal loans. (4) The respondents indicated that most important approach for decreasing household debts and informal loans were occupational training of farmers. Hence, other approaches for decreasing informal loans were decreasing formal loan interest, debt moratorium, and increasing sources of investment funds for formal loans.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
130820.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons