Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2049
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหฤษฎี ภัทรดิลก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัจฉรา จิตตลดากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคำนึง แสงขำ, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-07T03:54:30Z-
dc.date.available2022-11-07T03:54:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2049-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ (1) ศึกษาผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยเคมี ต่อผลผลิตทางเศรษฐกิจข้าวโพดหวาน (2) เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยเคมี ผลการศึกษาพบว่า (1) ทรีทเมนต์ที่ 2 ให้ผลผลิตทางเศรษฐกิจสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับทรีทเมนต์อื่น โดยให้ผลผลิตฝักทั้งเปลือกเฉลี่ย 2,324 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตฝักหลังปอกเปลือกเฉลี่ย 1526.02 กิโลกรัมต่อไร่ น้าหนักฝักทั้งเปลือกเฉลี่ย 350 กรัม/ฝัก และความยาวฝักเฉลี่ย 20.70 เซนติเมตรต่อฝัก ส่วนจำนวนฝักต่อไร่ พบว่า ทรีทเมนต์ที่ 6 ให้จานวนฝักต่อไร่สูงสุด 6,720 ฝักต่อไร่ ส่วนทรีทเมนต์ที่ 2 ให้จำนวนฝัก 6,640 ฝักต่อไร่ สำหรับความสูงต้นข้าวโพด และน้ำหนักฝักหลังปอกเปลือกไม่แตกต่างทางสถิติทุกทรีทเมนต์ ส่วนผลการวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของดินก่อนและหลังการทดลอง พบว่า ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) ปริมาณธาตุไนโตรเจน ปริมาณธาตุแมกนีเซียม ทุกทรีทเมนต์ค่อนข้างคงที่ ส่วนปริมาณอินทรียวัตถุ เพิ่มขึ้น หลังการทดลองในทรีทเมนต์ที่ 3 ทรีทเมนต์ที่ 4 และทรีทเมนต์ที่ 5 ปริมาณธาตุฟอสฟอรัส ลดลงหลังการทดลอง โดยเฉพาะทรีทเมนต์ที่ 1 ทรีทเมนต์ที่ 3 ทรีทเมนต์ที่ 4 และ ทรีทเมนต์ที่ 6 ปริมาณธาตุโพแทสเซียม ลดลงหลังการทดลองทุกทรีทเมนต์ และปริมาณธาตุแคลเซียม ลดลงหลังการทดลองในทรีทเมนต์ที่ 1 และทรีทเมนต์ที่ 2 แต่ทรีทเมนต์ที่ 3 ทรีทเมนต์ที่ 4 ทรีทเมนต์ที่ 5 และทรีทเมนต์ที่ 6 เพิ่มขึ้น (2) จากการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบว่าทรีทเมนต์ที่ 2 ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงสุด กล่าวคือได้กาไรสุทธิ 28,578 บาทต่อไร่ โดยต้นทุนในการปลูกข้าวโพดหวานทรีทเมนต์ที่ 2 เท่ากับ 13,254 บาทต่อไร่ และรายได้เท่ากับ 41,832 บาทต่อไร่ สรุปได้ว่า การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินโดยใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 60 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยเคมี 46-0-0 อัตรา 7 กิโลกรัมต่อไร่ ส่งผลให้ข้าวโพดหวานพันธุ์อินทรี 2 ให้ผลผลิตทางเศรษฐกิจและผลตอบแทนสูงกว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงหรือปุ๋ยชีวภาพ พด 12 เพียงอย่างเดียว รวมถึงการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงหรือปุ๋ยชีวภาพ พด12 รวมกับปุ๋ยเคมีอัตราต่า แสดงว่าปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยชีวภาพ ให้ธาตุอาหารที่ข้าวโพดหวานต้องการได้ไม่เพียงพอ ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลทางวิชาการที่แนะนาให้ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ควบคู่กับปุ๋ยเคมี เพื่อให้ผู้ผลิตข้าวโพดได้รับผลผลิตทางเศรษฐกิจและผลตอบแทนสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.333-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวโพด--ปุ๋ยth_TH
dc.subjectการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรth_TH
dc.subjectข้าวโพด--การปลูกth_TH
dc.titleผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยเคมี ต่อผลผลิตทางเศรษฐกิจของข้าวโพดหวาน พันธุ์อินทรี 2th_TH
dc.title.alternativeEffect of high quality organic fertilizer, bio-fertilizer and chemical fertilizer on economic yield of sweet corn variety 'INSEE 2'en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.333-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives were (1) to study the effects of high quality organic fertilizer, bio-fertilizer and chemical fertilizer on the economic yield of sweet corn; and (2) to compare the costs and returns of the 3 kinds of fertilizers for producing sweet corn. The experiment was designed as a Randomized Complete Block Design with 6 treatments and 4 replications: for Treatment 1: chemical fertilizer (formula 16-8-4) was applied at the rate of 75 kg./1,600 m2; for Treatment 2: chemical fertilizer (formula 15-15-15) was applied at 60 kg./1,600 m2 together with urea formula 46-0-0 at 7 kg./1,600 m2; for Treatment 3: bio-fertilizer LDD 12 was applied at 350 kg./1,600 m2; for Treatment 4: high quality organic fertilizer was applied at 350 kg./ 1,600 m2; for Treatment 5: chemical fertilizer formula 15-15-15 was applied at 2.5 kg./1,600 m2 together with urea formula 46-0-0 at 3.75 kg./1,600 m2 and high quality organic fertilizer at 175 kg./ 1,600 m2; and for Treatment 6: chemical fertilizer formula 15-15-15 was applied at 5 kg./1,600 m2 together with urea formula (46-0-0) at 7.5 kg./1,600 m2 and bio-fertilizer LDD 12 at 175 kg./1,600 m2. The experimental crop was sweet corn INSEE 2. Data analysis was done by Analysis of Variance and treatment comparison by DMRT. The results revealed that (1) Treatment 2 resulted in the highest economic yield. This treatment produced yield with husk of 2,324 kg./1,600 m2 and yield without husk of 1,526.02 kg./ 1,600 m2. The mean ear weight with husk was 350 g and ear length was 20.70 cm. Treatment 6 produced the highest number of ears and Treatment 2 the second highest 6,720 ears/1,600 m2 and 6,640 ears/1,600 m2, respectively. In terms of plant height and ear width, no statistically significant differences were detected between the treatments. Soil chemical properties (before and after the experiment) revealed that pH, N and Mg levels of every treatment were quite stable. However, the organic matter of Treatment 3, Treatment 4 and Treatment 5 increased. On the other hand, available phosphorus, available potassium and calcium levels were reduced for every treatment. (2) Economic return analysis showed that Treatment 2 gave the highest economic return. Net profit was 28,578 baht/1,600 m2 (expenses of 13,254 baht/1,600 m2 and income of 41,832 baht/1,600 m2). The conclusion was that applying chemical fertilizer formula 15-15-15 at the rate of 60 kg./1,600 m2 and urea (46-0-0) at 7 kg./1,600 m2 on sweet corn INSEE 2 crop produced higher economic yield than applying high quality organic fertilizer only, bio-fertilizer LDD 12 only, or either of the latter together with a low rate of chemical fertilizer, because organic and bio-fertilizers did not provide sufficient nutrients for the growth of sweet corn. This conclusion is compatible with academic information that recommends using organic fertilizer with chemical fertilizer for optimum economic yields and returns of sweet corn crops.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130821.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons