Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2062
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนพร แย้มสุดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวงเดือน ปั้นดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิ่้มนวล โยคิน, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-07T08:36:12Z-
dc.date.available2022-11-07T08:36:12Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2062-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงอรรถาธิบายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แรงจูงใจใฝ่สัมสิทธิ์ของพยาบาลวิชาชีพ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ใรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 (2) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจ ใฝ่สัมสิทธิ์ของพยาบาล วิชาชีพ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพล ในการทำนายประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ใรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการ สาธารณสุขที่ 10 จำนวน 280 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของพยาบาล วิชาชีพ 3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ 4) ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ชึ่งผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าความตรงของส่วนที่ 2-4 เท่ากับ .97, .96 และ .93 และหาค่าความเที่ยง ของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2-4 โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .82, .98 และ .96 ตามลำดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน และการถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของพยาบาลวิชาชีพ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ หัวหน้าหอผู้ป่วย และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง (2) แรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธิ์ ของพยาบาลวิชาชีพ และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผล ของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 349 และ .682 ตามลำดับ) (3) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของพยาบาลวิชาชีพ และ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย สามารถร่วมทำนายประสิทธิผลของหอผู้ป่วยได้รัอยละ 48.9th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.267en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของพยาบาลวิชาชีพ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10th_TH
dc.title.alternativeRelationships between achievement motivation, transformational leadership of head nurses, and effectiveness of patient care units as perceived by professional nurses at community hospitals, public health inspection region 10th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.267en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this exploratory research were: (1) to study achievement motivation of professional nurses, transformational leadership of head nurses, and the effectiveness of patient care units as perceived by professional nurses; (2) to explore the relationships between achievement motivation of professional nurses, transformational leadership of head nurses, and the effectiveness of patient care units; and (3) to analyze factors influencing the effectiveness of patient care units at community hospitals in Public Health Inspection Region 10. The sample included 280 professional nurses at community hospitals in Public Health Inspection Region 10. They were selected by stratified random sampling. Questionnaires were used as research tools and comprised four sections: (1) personal data, (2) achievement motivation of professional nurses, (3) transformational leadership of head nurses, and (4) effectiveness of patient care units. These questionnaires were validated by five experts, and the CVI of the second to fourth sections were.97, .96, and .93. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of the second to the fourth sections were .82, .98 and .96 respectively. Research data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation), Pearson product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The results of this study were as follows. (1) Professional nurses rated their achievement motivation, transformational leadership of their head nurses, and the effectiveness of patient care units at the high level. (2) Achievement motivations of professional nurses, transformational leadership of head nurses positively and significantly correlated to the effectiveness of patient care units (r = .349 and .682 respectively, p< .05). ( 3 )Both achievement motivation of professional nurses and transformational leadership of head nurses could predict the effectiveness of patient care unit. These predictors accounted for 48.9 %(/?’= 0.489)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib130707.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons