Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญยัง มากชุ่ม, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-08T03:30:13Z-
dc.date.available2022-11-08T03:30:13Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2066-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทั่วไปของกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตเกษตรปลอดภัย (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการการผลิตและการตลาดเกษตรปลอดภัยของกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตเกษตรปลอดภัย (3) แนวทางการพัฒนาการผลิตและการตลาดเกษตรปลอดภัยของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเกษตรปลอดภัย ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 51.0 ปี สมรสแล้ว ทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.1 คน พื้นที่ถือครองเฉลี่ย 8.6 ไร่ ส่วนใหญ่เกษตรกรเช่าพื้นที่ในการทำเกษตร การดำเนินงานของกลุ่มพบว่ามีการบริหารจัดการหลายด้านได้แก่ กลุ่มและการบริหารกลุ่ม เครือข่าย การผลิต การเรียนรู้ การตลาด กองทุนของกลุ่ม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและชุมชน กิจกรรมอื่นๆ ของกลุ่ม และการประเมินผล 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการการผลิตและการตลาดพบว่าปัจจัยภายในกลุ่ม ได้แก่ ความสามารถและความซื่อสัตย์ของประธานและคณะกรรมการบริหารกลุ่ม การทดลองทาด้วยตนเอง การเรียนรู้ภายในกลุ่ม การศึกษาดูงาน มีความสาคัญอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนการนำปัญหาไปปรับปรุงแก้ไข การวิเคราะห์ดินและน้ำ การปฏิบัติตามแผนการตลาด มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก สำหรับปัจจัยภายนอกกลุ่มได้แก่ นโยบายของรัฐ บทบาทของเจ้าหน้าที่ สิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ ปัจจัยการผลิต แหล่งจำหน่าย การปลอมปน มีความสำคัญอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านเงินทุน ราคาของสินค้า มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก 3) แนวทางการพัฒนาการผลิตและการตลาดของกลุ่มพบว่าผู้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาได้แก่ เกษตรกร ผู้ค้า ผู้บริโภค ผู้ส่งเสริม โดยบทบาทเกษตรกรควรมี การวางแผนการผลิตและการตลาด ความรู้ในการผลิต มีความอดทน ซื่อสัตย์ มีคุณธรรมจริยธรรมในการผลิต บทบาทผู้ค้าควรมี การโฆษณาเพิ่มช่องทางการจำหน่าย มีคุณธรรมจริยธรรม ความซื่อสัตย์ มีจิตสำนึกค้าขายอย่างเป็นธรรม บทบาทผู้บริโภค ควรมีการหาความรู้ข้อดีเกษตรปลอดภัย เปลี่ยนแปลงความรู้สึก ทัศนคติ ต่อเกษตรปลอดภัยและให้การสนับสนุนเกษตรปลอดภัย บทบาทผู้ส่งเสริม ให้ความรู้เกษตรกร ตรวจสอบการค้าให้เป็นธรรม ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้บริโภค และการส่งเสริมด้านต่างๆอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.277-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเกษตรกรรม--ไทย--ปทุมธานี--การจัดการ.th_TH
dc.titleการจัดการการผลิตและการตลาดเกษตรปลอดภัยของกลุ่มเกษตรกรพอเพียงบึงบอน ตำบลบึงบอน อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeManagement of production a marketing of safe agricultural products by the Buengbon Por Piang Farmer's Group in Buengbon Sub-district, Nongseu District, Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.277-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) general features of a farmer’s group producing safe agricultural products; (2) factors affecting their production management and marketing management; and (3) guidelines for developing the production and marketing of safe agricultural products. The study population consisted of members of Bueng Bon Por Piang Farmer’s Group who were involved in the production and marketing of safe agricultural products. Collection of quantitative data was done via questionnaire from 14 members of Bueng Bon Por Piang Farmer’s Group. Collection of qualitative data was done via in-depth interviews with randomly selected representatives (one from each group) of the groups of farmers, merchants, consumers and agricultural extension officers. Percentage, mean and standard deviation of quantitative data were calculated by computer software and qualitative data was analyzed using discriminant analysis. The results showed that 1) Most of the farmers studied were male, average age 51 years, and married. All of the farmers were Buddhist and most of them had completed elementary education. Average household size was 4.1 people and average farm size was 8.6 rai (1.38 hectares). Most farmers rented land. Operations of the farmer’s group comprised group management, networking, production, learning, marketing, fund management, conservation of natural resources environment and community, related group activities, and assessment. 2) The most significant internal factors that influenced the group’s production and marketing were: the abilities and honesty of the president and management committee, members’ farming experiments, group learning, and technical visits. The internal factors that were rated slightly less significant were: problem solving, soil and water analysis, and implementation of marketing plans. The most significant influential external factors were: government policies, the role of officers, environmental pollution, production input, markets, and competition from sham products. External factors of lesser importance were: participation of manufacturers, private sector marketing firms and finance firms, and pricing. 3) Farmers, merchants, consumers and agricultural extension officers could all play a role in developing the group’s production and marketing. The farmers’ role should be to form production and marketing plans, to improve their production know-how, and to be patient, honest and ethical. Suggested contributions for merchants included advertising, expansion of distribution channels, upholding professional ethics and morals, and being aware of fair trade practices. The role of consumers is to learn more about the benefits of safe agricultural products, and to change their attitudes to give more support to safe agricultural practices. The suggested contribution of agricultural extension officers is to give information to farmers, monitor fair trade, provide information for consumers, and provide continuous support for safe agricultural practices.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
133896.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons