Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัชนี นามจันทรา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุดมพร คำล้ำเลิศ, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-09T02:03:03Z-
dc.date.available2022-11-09T02:03:03Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2073-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบันทึกทางการพยาบาล ก่อนพัฒนารูปแบบ (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลในหออภิบาลทารกแรกเกิด โรงพยาบาลสมุทรสาคร และ (3) เปรียบเทียบผลของการใช้รูปแบบการบันทึกที่พัฒนาขึ้นในด้านคุณภาพการของการบันทึกทางการพยาบาล และการรับรู้คุณค่าของรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ ก่อนและหลังการพัฒนา กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ซึ่งได้จากการคัดเลือกอย่างเจาะจง ได้แก่ (1) พยาบาลวิชาชีพที่ปฎิบัติงานใน หออภิบาลทารกแรกเกิด จำนวน 15 คน และ (2) แบบบันทึกทางการพยาบาลของผู้ป่วยก่อนและหลังพัฒนาอย่างละ 30 แฟ้ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) โครงการอบรมพยาบาลวิชาชีพและแบบทดสอบความรู้เรื่องการบันทึกทางการพยาบาล (2) รูปแบบบันทึกทางการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น (3) แบบตรวจสอบคุฌภาพของการบันทึกทางการพยาบาล และ (4) แบบสอบถามการรับรู้คุณค่าของการใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลเครื่องมือวิจัยได้ผ่านการหาความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน และความเที่ยง โดยคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้องตามสูตรของสก๊อต และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบาค ค่าความเที่ยงของแบบตรวจสอบคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาล ซึ่งแบ่งเป็น 3 ตอน ได้แก่ ความครอบคลุมตามกระบวนการพยาบาล ความถูกต้องตามหลักการบันทึกและความต่อเนื่องของการบันทึก เท่ากับ 0.95, 0.95, และ 0.89 ตามลำดับ และความเที่ยงของแบบสอบถามการรับรู้คุฌค่าของการใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาล เท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Mann-Whitney U test และสถิติทดสอบทีแบบจับคู่ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (I) ปัญหาการบันทึกทางการพยาบาลที่พบมี 3 ประการ คือ ก. วิธีการบันทึกไม่ ครอบคลุมตามกระบวนการพยาบาล บันทึกไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน และไม่ต่อเนื่อง ข. แบบบันทึกไม่เหมาะสมทำให้บันทึกไม่ครอบคลุม และไม่สอดคล้องตามกระบวนการพยาบาล ไม่ครอบคลุมปัญหาของผู้ป่วยแบบองค์รวม และ มีแบบฟอร์มที่มีการบันทึกซ้ำซ้อน ค. ไม่มีคู่มือการใชัรูปแบบบันทึกทางการพยาบาล สำหรับใช้เป็นแนวทางการการบันทึกและตัวอย่าง (2) รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาล ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย วิธีการบันทึกและแบบบันทึกตามกระบวนการพยาบาล และคู่มือการใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาทที่เอื้อต่อการบันทึกอย่างรวดเร็ว ครบถ้วนครอบคลุมความต้องการของผู้ป่วยแบบองค์รวมและอย่างต่อเนื่อง และคู่มือการใช้รูปแบบบันทึกทางการพยาบาล ที่เอื้อต่อการบันทึกได้ครอบคลุมความต้องการของผู้ป่วยแบบองค์รวมอย่างรวดเร็ว ถูกต้องตามกระบวนการพยาบาล และ (3) ค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลและการรับรู้คุณค่าของการรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาล โดยรวมหลังพัฒนาสูงกว่าก่อนพัฒนารูปแบบบันทึกทางการพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.166en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบันทึกการพยาบาลth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลในหออภิบาลทารกแรกเกิดโรงพยาบาลสมุทรสาครth_TH
dc.title.alternativeThe development of a nursing record model in a Neonatal Intensive Care Unit of Samutsakhon Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.166en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (1) to explore the problems of a nursing record model before development (2) to develop a nursing record model for a Neonatal Intensive Care Unit of Samutsakhon Hospital, and (3) to compare the effects of using the developed record model in terms of quality of nursing record and nurses’ perceived value of the record model before and after the development. The samples were selected by purposive sampling including 2 groups: (1) fifteen professional nurses who worked at the neonatal intensive care ward, and (2) each thirty nursing records per one implementation. Research tools consisted of (l)a training project and a knowledge test of nursing records, (/) the developed nursing record model, (3) a quality of nursing record audit checklist, and (4) the nurses’ perceived value of the nursing record model questionnaire. All tools were tested for validity by five experts, and the reliabilities were examined by Scott’s formula and Cronbach’s alpha coefficient. The reliabilities of quality of nursing record which included three sections (nursing process completeness, accuracy of charting, and continuity of charting) were 0.95, 0.95, and 0.89 respectively. The reliability of nurses’ perceived value of the record model was 0.97. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Mann-Whitney บ test, and paired t-test. The major findings were as follows. (1) The problems of the nursing record consisted of (a) the charting method was not based on nursing process, incorrect, incomplete, and discontinuous, (b) inappropriate forms resulted in incomprehensiveness to patients’ holistic problems and irrelevance to nursing process, and (c) absence of the charting manual to guide and to be the exemplar of charting. (2) The developed nursing record model comprising charting procedures, forms, and a manual. It facilitated documenting with immediately, completely, holistically to patients’ needs, and continuously manners, and (3) the mean scores of the quality of nursing record and the nurses’ perceived value of the record model after the development were significantly higher than before (p <0.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib134592.pdfเอกสารฉบับเต็ม30.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons