Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัมภา ศรารัชต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชรีจิต วงษ์สุธน, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-09T02:34:17Z-
dc.date.available2022-11-09T02:34:17Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2074-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปริมาณเวลาการพยาบาล ตามมาตรฐานที่พยาบาลใช้ไนการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลในการดูแลมารดาหลัง คลอดและทารกแรกเกิด จำแนกประเภทตามเกณฑ์การจำแนกผู้ป่วย 10 ประเภท (2) วิเคราะห์อัตรากำลังพยาบาลที่เหมาะสมในการดูแลมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดของ โรงพยาบาลท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กิจกรรมการพยาบาลที่ปฏิบัติต่อมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดทั้งหมด 4,180 กิจกรรม และมารดาหลังคลอด ทารกแรกเกิด จำแนกตามประเภท จำนวน 169 ราย โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัย สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลของพยาบาลที่เป็นแบบในการจับเวลา เครื่องมีอประกอบด้วย 2 ส่วน คือ (1) เครื่องมือบันทึกข้อมูล ได้แก่แบบบันทึกข้อมูลการบริการของหอผู้ป่วย สูตินรีเวชกรรม แบบบันทึกเวลา และความถี่ ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล (2) คู่มือคำอธิบายกิจกรรมการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบ ความตรงตามเนี้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญ 6 ท่าน และมีค่าดัชนีความสอดคล้องของการสังเกต เท่ากับ 0.93 และ 0.92 ตามลำดับ คำนวณอัตรากำลังพยาบาลที่ต้องการโดยใช้สูตรการคำนวณของ Brown พร้อมทั้งวิเคราะห์อัตรากำลัง พยาบาลที่ต้องการในแต่ละวันและการกระจายพยาบาลในแต่,ละเวร ผลการวิจัย พบว่า (1) มารดาหลังคลอดประเภทอาการหนักปานกลางและต้องการการดูแลปานกลาง (2c) ประเภทอาการหนักปานกลางและต้องการการดูแลมาก (2b) และอาการหนักและต้องการการดูแลมาก (3b) ใช้เวลาการพยาบาลตามมาตรฐาน คือ 3.82, 4.63 และ 5.35 ชั่วโมง/คน/วัน ส่วนทารกแรกเกิดประเภทอาการหนักปานกลางและต้องการการดูแลมาก (2b) ประเภทอาการหนักปานกลางและต้องการการดูแลมากตลอดเวลา (2a) และประเภทอาการหนักและต้องการการดูแลมากตลอดเวลา (3a) ใช้เวลาการพยาบาลตามมาตรฐานเท่ากับ 4.18, 6.32, 8.25 ชั่วโมง/คน/วัน ตามลำดับ (2) อัตรากำลังพยาบาลที่ต้องการในการดูแลมารดา หลังคลอดและทารกแรกเกิด เท่ากับ 15 คน/วัน และบุคลากรพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานในเวร เช่า : บ่าย : ดึก เท่ากับ 6 : 5 : 4 คนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.162en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลผดุงครรภ์ -- อัตรากำลังth_TH
dc.subjectการพยาบาลสูติศาสตร์ -- อัตรากำลังth_TH
dc.subjectมารดาและทารก -- การพยาบาลth_TH
dc.subjectมาตรฐานการทำงานth_TH
dc.subjectลโรงพยาบาล -- การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleการจัดอัตรากำลังพยาบาลในกลุ่มมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดโรงพยาบาลท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeNurse staffing in postpartum and newborn group at Thamuang Hospital in Kanchanaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.162en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study standard times of nursing activities in postpartum care for the mother and newborn group according to 10 categories of patient classification, and (2) to analyze nurse staffing in postpartum care for the mother and newborn group at Thamuang hospital in Kanchanaburi province. The items included 4,180 activities of nursing care provided for 169 postpartum mothers and newboms. The researcher and the research assistant observed nurses who provided nursing care and counted times of each activity. Two research instruments were used. (l)Two record forms included nursing services of postpartum and newborn unit, and the time and frequency of nursing practice. (2) The nursing manual described nursing activities which provided for postpartum and newborn. The content validity of these tools were verified by six experts and their inter-rater reliabilities of observation score were 0.93 and 0.92 respectively. Nurse staffing were assessed by Brown’s formula, and nurse staffing of daily and shift was analyzed. The results showed as follows. (1) Time spent on nursing care according to standard of postpartum patients who were in a moderate severe condition and needed moderate care (2c), postpartum patients who were in a moderate severe condition needed more care (2b), and postpartum patients who were in a severe condition and needed more care (3b) was 3.82, 4.63, and 5.35 hours/ person/ day respectively. Time spent on nursing care according to standard of newborn babies who were in a moderate severe condition needed moderate care (2b), newborn babies who were in a moderate severe condition and needed more care at all times (2a), newborn babies who were in a severe condition and needed more care at all times (3a) was 4.18, 6.32, and 8.25 hour / person / day, respectively. (2) Nursing staffing caring for mothers and newboms was 15 persons/ day. The ratio of nursing personnel who worked in the morning shift: the evening shift: and the night shift was 6: 5: 4en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib134595.pdfเอกสารฉบับเต็ม30.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons