Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2077
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มุกดา หนุ่ยศรี | th_TH |
dc.contributor.author | พรรษา เชาวน์เกษม, 2500- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-09T06:43:09Z | - |
dc.date.available | 2022-11-09T06:43:09Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2077 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการบริการตรวจสุขภาพทั่วไปต่อราย และเปรียบเทียบสัดส่วนต้นทุนค่าแรง ต้นทุนค่าวัสดุ และต้นทุนค่าลงทุน ในการบริการหนึ่งครั้งของงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลลำปาง (2) เพื่อเปรียบเทียบสัดส่วนต้นทุนการบริการตรวจสุขภาพทั่วไประยะก่อนตรวจสุขภาพ ระยะตรวจสุขภาพ และระยะหลังตรวจสุขภาพ และ (3) เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนการให้บริการ ตรวจสุขภาพประจำปี 1 ครั้ง กับต้นทุนที่เรียกเก็บจากผู้ใช้บริการ 4 กลุ่ม คือ ผู้ใช้บริการชายอายุ 35 ปี ขึ้นไป หญิงอายุ 35 ปี ขึ้นไป ชายอายุไม่เกิน 35 ปี และหญิงอายุไม่เกิน 35 ปี ประชากรที่ศึกษา คือกิจกรรมการให้บริการตรวจสุขภาพทั่วไปที่บุคลากรในหน่วยห้องตรวจสุขภาพปฏิบัติในการให้บริการตรวจสุขภาพทั่วไปแก่ผู้ใช้บริการต่อครั้ง กลุ่มตัวอย่างเป็นกิจกรรมการให้บริการตรวจสุขภาพาทั่วไปที่บุคลากรในหน่วยห้องตรวจสุขภาพปฏิบัติในการให้บริการตรวจสุขภาพาทั่วไปแก่ผู้ใช้บริการต่อครั้ง ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555 ผู้ให้ข้อมูลคือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยห้องตรวจสุขภาพ งานผู้ป่วยนอก ใรงพยาบาลลำปาง จำนวน 9 คน ประกอบด้วยแพทย์ 1 คน พยาบาลวิชาชีพ 6 คน และพยาบาลผู้ช่วยเหลือคนไข้ 2 คน และผู้ใช้บริการตรวจสุขภาพในงานผู้ป่วยนอก ในช่วงที่ศึกษา การศึกษาต้นทุน ครั้งนี้ใช้ระบบการคิดต้นทุนกิจกรรมทางตรงในมุมมองผู้ให้บริการเท่านั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยพจนานุกรมกิจกรรม แบบบันทึกเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมและแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลค่าแรง ค่าวัสดุ และค่าลงทุน อี่น ๆ อีก 7 ชุด และนาฬิกาจับเวลา เครื่องที่สร้างขึ้นผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และความเที่ยงของการจับเวลาในการปฏิบัติกิจกรรม เท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา ผลการศึกษาพบว่า (1) ต้นทุนกิจกรรมการให้บริการตรวจสุขภาพทั่วไปของงานผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลลำปาง ในการบริการหนึ่งครั้ง เท่ากับ 175.65 บาท ประกอบด้วยต้นทุนค่าแรง 110.87 บาท ต้นทุนค่าวัสดุ 37.75 บาท และต้นทุนค่าลงทุน 27.03 บาท คิดเป็นสัดส่วนต้นทุนค่าแรง : ต้นทุนค่าวัสดุ : ต้นทุนค่าลงทุน เท่ากับ 4.1 : 1.4 : 1 (2) ต้นทุนกิจกรรมการให้บริการระยะก่อนตรวจสุขภาพ เท่ากับ 133.53 บาท ขณะตรวจสุขภาพ เท่ากับ 26.32 บาท และระยะหลังตรวจสุขภาพ เท่ากับ 15.37 บาท สัดส่วนต้นทุนกิจกรรมการให้บริการตรวจสุขภาพทั่วไประยะก่อนตรวจสุขภาพ : ขณะตรวจสุขภาพ : หลังตรวจสุขภาพ เท่ากับ 8.7 : 1.7 : 1และ (3) ต้นทุนการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปืหนึ่งครั้ง ผู้ใช้บริการชายอายุ 35ปี ขึ้นไป หญิงอายุ 35ปี ขึ้นไปและหญิงอายุไม่เกิน 35 ปี น้อยกว่าต้นทุนที่เรียกเก็บจากผู้ใช้บริกาอยู่ 263.35, 293.35 และ 2.35 บาท ตามลำดับ ส่วนชายอายุไม่เกิน 35 ปี ต้นทุนการให้บริการตรวจสุขภาพจะมากกว่าต้นทุนที่เรียกเก็บจากผู้ใช้บริการอยู่ 27.65 บาท | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.398 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลลำปาง--บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลลำปาง--ผู้ป่วย--การตรวจสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | การตรวจสุขภาพ | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการบริการตรวจสุขภาพทั่วไปในงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลลำปาง | th_TH |
dc.title.alternative | Cost analysis of general health checkup service activities in the outpatient department at Lumpang Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.398 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to analyze the cost per visit of general health-checkup service activities (GHCSA) and to compare the ratios of labor cost, material cost, and capital cost at the Outpatient Department in Lampang Hospital; (2) to compare the ratios of GHCSA costs in three stages: a preliminary screening stage, an examination stage, and a consulting stage; and (3) to compare the service cost per visit of annual health checkups in four groups: (a) men aged 35 years and above, (b) women aged 35 years and above, (c) men under 35 years of age, and (d) women under 35 years of age. The population of this study comprised GHCSA at the Outpatient Department in Lampang Hospital. The sample of this study was the GHCSA during the period of June 15 -September 15, 2012. The informants included 2 groups: (1) personnel of the outpatient department including one doctor, six nurses, and two nurse-aides; and (2) the users of general health checkup services at the outpatient department during the study period. The Activities-Based Costing System (ABCS) was used for analyzing the direct cost from a provider perspective only. Research instruments were (a) a list of GHCSA, a time recording form of GHCSA; (b) labor, material and capital cost recording forms; (c) another seven recording forms; and (d) calibrated clocks. All instruments were tested for content validity. The reliability coefficient of time recording of GHCSA was 0.89. Data were analyzed by descriptive statistics. The research findings were as follows: (1) The total cost of GHCSA at the Outpatient Department was 175.65 Baht per visit. The labor cost, material cost, and capital cost were 110.87, 37.75, and 27.03 Baht respectively. The ratios of labor cost, material cost, and capital cost were 4.1 ะ 1.4 : 1 respectively. (2) The cost of the preliminary screening stage, the examination stage, and the consulting stage were 133.53, 26.32, and 15.37 Baht respectively. The ratios of the cost of the preliminary screening stage, the examination stage, and the consulting stage were 8.7:1.7:1 respectively. (3) The costs of services for single-visit annual checkup of three groups were as follows. For men aged 35 years and above, women aged 35 years and above, women under 35 years of age were lower than the costs which were levied on clients using these service 263.35, 293.35, and 2.35 Baht respectively. However, for men under 35 years of age, the cost was higher than 27.65 Baht. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ส่งศรี กิตติรักษ์ตระกูล | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib134815.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 22.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License