Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2079
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วงเดือน ปั้นดี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | บุณฑริกา วรรณกลึง, 2512- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-09T07:57:33Z | - |
dc.date.available | 2022-11-09T07:57:33Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2079 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงอรรถาธิบายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน การได้รับการอบรม บรรยากาศองค์การ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (2) ความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะเวลาในการปฏบัติงาน การได้รับการอบรม และบรรยากาศองค์การ กับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (3) ปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชัยนาท กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่มีระยะเวลาปฏิบัติงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชัยนาท ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น จำนวน 102 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามแบ่งเป็น 3 ตอน คือข้อมูลส่วนบุคคล บรรยากาศองค์การ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและ รับรองคุณภาพโรงพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน และวิเคราะห์ความเที่ยง ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของคอนบราค เท่ากับ 0.92 และ 0.96 ตามลำดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ร้อยละ 56.90 ระยะเวลาใน การปฏิบัติงานอยู่ระหว่าง 11 - 15 ปี ร้อยละ 39.20 ได้รับการอบรม เรื่องการพัฒนาองค์กร ร้อยละ 71.60 การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ร้อยละ 39.20 พฤติกรรมบริการคู่ความเป็นเลิศ ร้อยละ 33.30 กิจกรรม 5 ส. ร้อยละ 30.40 และการประกันคุณภาพการพยาบาล ร้อยละ 16.70 บรรยากาศองค์การและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง (2) การได้รับการอบรมเรื่องการประกันคุณภาพการพยาบาล มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาท บรรยากาศองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ในระดับปานกลาง (r = 0.666, p<0.05) (3) บรรยากาศองค์การ (ด้านการได้รับการยอมรับ ด้านมาตรฐาน และด้านความยึดมั่นผูกพัน) และการได้รับการอบรมเรื่องการประกันคุณภาพการพยาบาล สามารถร่วมกันพยากรณ์การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลประจำการได้ ร้อยละ 45.70 (R2 = 0.457) ดังนั้นผู้บริหารควรสนับสนุนให้มีการอบรมการประกันคุณภาพการพยาบาล และจัดสร้างบรรยากาศองค์การให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน -- การควบคุมคุณภาพ | th_TH |
dc.subject | พยาบาล -- การฝึกอบรมในงาน | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาในการปฏิบัติงานการได้รับการอบรมบรรยากาศองค์การ กับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชัยนาท | th_TH |
dc.title.alternative | The relationships between duration of work, training experience, organizational climate, and the participation in hospital quality improvement and accreditation of staff nurses at Community Hospitals in Chainat Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this explanatory research were: (1) to study duration of work, training experience, organizational climate, and the participation in hospital quality improvement and accreditation of staff nurses, (2) to investigate relationships between duration of work, training experience, organizational climate, and the participation in hospital quality improvement and accreditation of staff nurses, and (3) to explore factors predicting the participation in hospital quality improvement and accreditation of staff nurses at community hospitals in Chainat province. The sample of this study included 102 staff nurses who had worked at community hospitals in Chainat province for at least one year. They were selected by stratified random sampling technique. Questionnaires were used as research tools and comprised three sections: personal data, organizational climate, and the participation in hospital quality improvement and accreditation of staff nurses. The content validity of questionnaires was verified by five experts. The Cronbach’s alpha coefficients of the second and third parts were .92 and .96 respectively. Research data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation ), Pearson product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The results of this study were as follows. (1) Most staff nurses were 31-40 years old (56.90 %). They had working experience between 11-15 years (39.20 %). They were trained on an organization development program (71.60%), a hospital accreditation program (39.20%), an excellence sendee behavior program (33.30%), a 5S program (30.40%), and a nursing quality assurance program (16.70%). Staff nurses rated the two factors: organizational climate and the participation in hospital quality improvement and accreditation at the moderate level. (2) Training experienced on the nursing quality assurance program related significantly with the participation in hospital quality improvement and accreditation of staff nurses. The organizational climate were positively significantly related with the participation in hospital quality improvement and accreditation of staff nurses at moderate level (r = 0.666, p < 0.05). Finally, (3) both organizational climate (recognition, standards, and commitment) and training experience on nursing quality assurance program could predict the participation in hospital quality improvement and accreditation of staff nurses. These predictors accounted for 45.70% ( R2 = 0.457). Therefore, administrators should be promote the training of nursing quality assurance program and create organizational climate to encourage participation in hospital quality improvement and accreditation | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib134827.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License