Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2083
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิมลมาศ พงษ์อำนวยกฤต, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-10T02:36:19Z-
dc.date.available2022-11-10T02:36:19Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2083-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลลัพธ์การดำเนินการจัดการคุณภาพโดยรวมของ หัวหน้าหน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล (2) ศึกษาดำเนินการจัดการคุณภาพโดยรวมของ หัวหน้าหน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการคุณภาพโดยรวมกับผลลัพธ์การดำเนินการของหัวหน้า หน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 201 คน เป็นพยาบาลประจำการปฎิบัติงานใน หน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล ของโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดเลย โดยใช้การสุ่มอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ไน การริจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพโดยรวมของหัวหน้าหน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล โดยใชั แนวคิดระบบการจัดการคุณภาพ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยประยุกต์จากมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล ปรับปรุง ครั้งที่ 2 สำนักการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข (2551) โดยเน้นเนึ้อหามาตรฐานการบริหารการพยาบาล จำนวน 7 หมวด ได้แก่ 1. การนำองค์กร 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 3. การมุ่งเน้นผู้ใชับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์ การจัดการสารสนเทศและความรู้ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการกระบวนการ 6. ผลลัพธ์การดำเนินการขององค์กร ซึ่งมี 14 มาตรฐาน ได้แบบสอบถาม จำนวน 87 ข้อ ค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม ได้เท่ากับ .98 ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลลัพธ์การดำเนินการจัดการคุณภาพโดยรวมของหัวหน้าหน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล จำแนกเป็นรายข้อและโดยรวมอยู่ในระดับดีเป็นส่วนใหญ่ โดยมีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 3.58 (2) การดำเนินการจัดการคุณภาพโดยรวมของหัวหนาหน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล จำแนกเป็นรายด้านและ โดยรวม อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลื่ยโดยรวม เท่ากับ 3 54 และ 3.50 (3) การจัดการคุณภาพโดยรวมของหัวหน้า หน่วยงาน ต่างมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงและสูงมากกับผลลัพธ์การดำเนินการของหน่วยงาน กลุ่มการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 001 ( r อยู่ระหว่าง 0.715-0.857 )th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/ 10.14457/STOU.the.2012.393en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวม -- การจัดการth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชนth_TH
dc.titleผลลัพธ์การดำเนินการจัดการคุณภาพโดยรวมของหัวหน้าหน่วยงานกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดเลยth_TH
dc.title.alternativeThe Result of total quality management of head nurse in Community Hospital Loei Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.393en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the results of total quality management (TQM) carried out by heads of Nursing Departments, (2) to find levels of TQM carried out by heads of nursing departments, and (3) to investigate the relationship of TQM and results of TQM done by heads of nursing departments. The study sample included 201 registered nurses at the community hospital in Loei province, and they were selected by simple random sampling. Questionnaires developed by the researcher were applied from the standardize of nursing Care in Hospital (2ndupdate), the Department of nursing, the Ministry of public health of Thailand (2008). Seven categories of standardized nursing care which Leadership, Strategic planning. Customer and Stakeholders Focus, Measurement Analysis Information and Knowledge Management, Workforce Focus, Process Management and Results of the Organization included 14 standards were focused on in the study. Questionnaires consisted of 87 items, and the reliability of questionnaires was 0.98 The result of this study showed as follows (1) Registered nurses rated the results of TQM conducted by their heads at the good level (M=3.58).(2) Registered nurses rated TQM conducted by their heads at the good level both items and the whole scale (M=3.54 and 3.50 respectively). Finally. (3) there was a statistically significant positive correlation between TQM carried out by heads of Nursing Departments and the result of the TQM of the Nursing Departments ( p = 0.01,r= 0.71-0.85)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib137443.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons