Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2085
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนพร แย้มสุดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรภีย์ อี๊ธงชัย, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-10T03:37:32Z-
dc.date.available2022-11-10T03:37:32Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2085-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปริมาณงาน การควบคุมงาน การ สนับสบุนทางสังคมในการปฏิบัติงาน และความผาสุกทางใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชิพ และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณงาน การควบคุมงาน การสนับสนุนทางสังคมในการปฏิบัติงาน กับความผาสุกทางใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการ สาธารณสุขที่ 5 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ จำนวน 307 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบ่งเป็น 5 ส่วน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) ปริมาณงาน 3) การควบคุมงาน 4) การสนับสนุนทางสังคมในการปฏิบัติงานและ 5) ความผาสุกทางใจใน การปฏิบัติงาน ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ได้ค่า CVI ของ แบบสอบถามส่วนที่ 2 ถึง 5 เท่ากับ 0.80, 0.84, 0.91 และ 0.88 ตามลำดับ และตรวจสอบความเที่ยงของ แบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่า เท่ากับ 0.87 0.85 0.88 0.92 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้สถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชิพ เกี่ยวกับ ปริมาณงาน การ ควบคุมงาน และความผาสุกทางใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจ ราชการสาธารณสุขที่ 5 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนระดับความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพ เกี่ยวกับการสนับสนุนทางสังคมในการปฏิบัติงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณงานกับความผาสุกทางใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชิพโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจ ราชการสาธารณสุขที่ 5 มีความสัมพันธ์อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( 2 = 0-029, P = 0.866) ส่วนการควบคุมงาน และการสนับสนุนทางสังคมในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กับความผาสุกทางใจ ในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 5 อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ( 2  = 133.845, p < 0.001 and 2  = 10.948, p = 0.001 ตามลำดับ).th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.395en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณงาน การควบคุมงาน และการสนับสนุนทางสังคมในการปฏิบัติงานกับความผาสุกทางใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 5th_TH
dc.title.alternativeThe relationships between job demands, job control, social support in work, and psychological well-being at work of professional nurses at general hospitals in Public Health Inspection Region 5th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.395en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were (1) to study the level of job demands, job control, social support in work, and psychological well-being at work of professional nurses and (2) to study the relationship between job demands, job control, social support in work, and psychological well-being at work of professional nurses at General Hospitals in Public Health Inspection region 5. The sample included 307 professional nurses. They were selected by the simple random sampling technique. Questionnaires were used as research tools and comprised five sections:- I) personal data, 2) job demands, 3) job control, 4) social support in work, and 5) psychological well-being at work of professional nurses. The content validity of questionnaires was verified by 5 experts, and the CVI of the second to fifth section were 0.80, 0.84, 0.91, and 0.88 respectively. Cronbach’s alpha coefficients were 0.87, 0.85, 0.88, and 0.92 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean, standard deviation) and Chi-square test. The results of this study were as follows. 1) Professional nurses rated their job demands, job control, and psychological well-being at work at the moderate level, and they rated their social support in work at the high level. 2) Job demands were not associated with psychological well-being of professional nursed. (R2 = 0.029, p = 0.866) Both job control, and social support in work correlated significantly with psychological well-being at work of professional nurses ( 2  = 133.845, p < 0.001 and 2  = 10.948, p = 0.001) respectivelyen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib137447.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons