Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2093
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรวิมล พุทธบูชา, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-10T08:40:57Z-
dc.date.available2022-11-10T08:40:57Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2093-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การรับรู้เกี่ยวกับการจัดการ ภาวะขาดแคลนพยาบาลของหัวหนัาหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการภาวะขาดแคลนพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ (3) อิทธิพลของ การรับรู้เกี่ยวกับการจัดการภาวะขาดแคลนพยาบาลต่อพฤติกรรมการบริหารจัดการภาวะขาดแคลน พยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีระยะเวลาการปฎบัติงานและดำรงตำแหน่ง อย่างน้อย 1 ปี ขึ้นไป จำนวน 158 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถาม ซึ่งมี 3 ส่วน ได้แก่ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล 2) การรับรู้เกี่ยวกับการจัดการภาวะขาด แคลนพยาบาล และ 3) พฤติกรรมการบริหารจัดการภาวะขาดแคลนพยาบาล แบบสอบถามส่วนที่ 2 และ 3 มีค่าความเที่ยง 0.87 และ 0.91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็น ขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) หัวหน้าหอผู้ป่วยมีการรับรู้เกี่ยวกับการจัดการภาวะขาดแคลน พยาบาลโดยรวม อยู่ในระดับสูง (2) หัวหน้าหอผู้ป่วยมีพฤติกรรมการบริหารจัดการภาวะขาดแคลน พยาบาลโดยรวม อยู่ในระดับสูงมาก (3) การรับรู้ประโยชน์ของการบริหารจัดการภาวะขาดแคลน พยาบาลสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการบริหารจัดการภาวะขาดแคลนพยาบาล ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ได้ร้อยละ 13.60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.29en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- อัตรากำลังth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารจัดการภาวะขาดแคลนพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 5th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting nurse shortage management behaviors of head nurses at General Hospitals in Public Health Inspection Region 5th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.29en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were: (1) to study perception of nurse shortage management by head nurses at general hospitals in Public Health Inspection Region 5, (2) examine nurse shortage management behaviors of head nurses, and (3) to explore the effect of nurse shortage management perception on nurse shortage management behaviors of head nurses. The sample included 158 head nurses who had worked at general hospitals in Public Health Inspection Region 5 for at least 1 year. Data were collected by questionnaires which comprised 3 parts: (1) personal data, (2) nurse shortage management perception, and (3) nurse shortage management behaviors. The Cronbach’s alpha coefficients of the second and the third parts were 0.87 and 0.91 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean. standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results showed as follows. (1) Head nurses rated their perception of nurse shortage management at the high level. (2) They also rated their nurse shortage management behaviors at the highest level. (3) Perception of benefits of nurse shortage management explained the variance of nurse shortage management behaviors of head nurses, and this accounted for 13.60 % (p< 0.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib137820.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons