Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2094
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | รุ้งรังษี วิบูลย์ชัย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ฐิรพร อัศววิศรุต, 2504- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-11T02:00:10Z | - |
dc.date.available | 2022-11-11T02:00:10Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2094 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการมอบหมายงานในหอผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรม โรงพยาบาลยโสธร การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสังเกต การสัมภาษณ์เจาะลึกพยาบาลที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยหนักศัลยกรรม จำนวน 12 คน ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการมอบหมายงานด้วยการสนทนากลุ่มพยาบาล ในหอผู้ป่วยหนักศัลยกรรม จำนวน 12 คน จนได้รูปแบบการมอบหมายงานระยะที่ 3 นำรูปแบบไปทดลองใช้ประเมินและปรับปรุงรูปแบบ เป็นเวลา 6 เดือน จนได้รูปแบบการมอบหมายงานที่พยาบาลวิชาชีพ ทั้งหมดเห็นพ้องกัน เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ แนวคำถามในการสัมภาษณ์เจาะลึกและการสนทนากลุ่ม แบบประเมินการบันทึกทางการพยาบาลของ กลุ่มการพยาบาล แบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์การเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการมอบหมายงานในหอผูป่วยหนัก โรงพยาบาลยโสธร เป็นการ มอบหมายงานแบบรายผู้ป่วย ผสมผสานกับการมอบหมายแบบตามหน้าที่และเพื่อนช่วยเพื่อน การ ประเมินหลังนำรูปแบบไปใช้พบว่าการบันทึกทางการพยาบาลในการด้านประเมินผู้ป่วยมีความสมบูรณ์ เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 91.0 เป็นร้อยละ 95.0 การวินิจฉัยการพยาบาลมีความสมบูรณ์เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 65.0 เป็นร้อยละ 91.0 การวางแผนการพยาบาลมีความสมบูรณ์ เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 52.0 เป็น ร้อยละ 89.2 กิจกรรม การพยาบาลมีความสมบูรณ์ เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 84.5 เป็นร้อยละ 94.6 การประเมินผลการพยาบาลมีความ สมบูรณ์ เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 70.0 เป็นร้อยละ 95.0 ความคลาดเคลื่อนทางการบริหารยาพบว่าการให้ยาผิด เวลาลดลงจาก ร้อยละ 0.81 เป็นร้อยละ 0.09 การให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ/ยาผิดชนิดลดลงจาก ร้อยละ 0.21 เป็นร้อยละ 0.02 การให้ยาไม่ครบตามแผนการรักษาลดลงจาก ร้อยละ 0.42 เป็นร้อยละ 0.30 และ พยาบาลวิชาชีพทุกคนมีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.414 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลยโสธร -- การบริหาร | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการมอบหมายงานในหอผู้ป่วยหนักศัลยกรรมโรงพยาบาลยโสธร | th_TH |
dc.title.alternative | A development of job delegation model of Surgical Intensive Care, Yasothorn Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.414 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research and development aimed to develop the job delegation model in Surgical IntensiveCare Unit Yasothom Hospital. This research was divided into three phases. First, situational analysis was done by literature review, observation; and in-depth interview with twelve professional nurses who work at Surgical Intensive Care Unit. Second, the preliminary model was developed based on focus group discussions of professional nurses 410 work at Surgical Intensive Care Unit. Third, the job delegation model was implemented and modified for six months. After receiving the consensus from the professional nurses, the final model was raluated. The research instruments, were the in-depth interview and focus group discussion guideline. The valuation form of the completeness of the nursing record developed by the nursing division of Yaosthom Hospital and the incidence report of medication errors developed by the Pharmaceutical unit of Yaosthom Hospital and satisfaction questionnaires. Data were analyzed by using percentage, mean and content analysis. The results revealed that the Job Delegation model of Surgical Intensive Care Unit, Yaosthom Hospital included both case assignment and the functional model adding the peer group support. The model valuation showed as follows. The completeness of the nursingrecords was increased, in patient/aluatingphase was increased from 91.0 percent to 95.0 percent, nursing diagnosisphase was increased from 65.0 percent to 91.0 percent,nursing care plan phase was increased from 52.0 percent to89.2 percent, nursing implementation phase was increased from 84.5 percent to 94.6 percent, and nursing care evaluation phasewas increased from 70.0 percent to 95.0 percent. Futhermore, the incidence of medication errors were decreased as follows, wrong time errorwas decreased from 0.81 percentto 0.09 percent, wrong drug error was decreased from 0.21 percentto 0.02 percent, omission error was decreased from 0.42 percentto 0.30 percent Moreover, all professional nurses were in the unit were expressed their satisfifactionwith the model | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib138352.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License