Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสารภี นพคุณ, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-11T04:30:00Z-
dc.date.available2022-11-11T04:30:00Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2112-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการณ์ความขัดแย้งของ บุคลากรทางการพยาบาล (2) พัฒนารูปแบบการจัดการความขัดแย้งของบุคลากรทางการพยาบาล และ (3) ศึกษา ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการความขัดแย้งของบุคลากรทางการพยาบาล ใรงพยาบาลพญาเม็งราย จังหวัด เชียงราย กลุ่มตัวอย่างประกอบเป็นบุคลากรของโรงพยาบาลพญาเม็งราย จำนวน 12 คน ประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล รองหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วย หัวหน้างานเวชปฏิบัติและครอบครัว หัวหน้างานเภสัชกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน ได้แก่ 1) แนวคำถามกึ่งโครงสร้างในการสนทนากลุ่ม เกี่ยวกับการวิเคราะห์สถานการณ์ความขัดแย้ง 2) รูปแบบการจัดการความขัดแย้ง และ (3) แบบวัดความพึงพอใจ ต่อการใชัรูปแบบการจัดการความขัดแย้ง ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้สร้างขึ้นด้วยตนเอง ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดย การหาค่าดัชนีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ได้เท่ากับ 0.92, 0.84 และ 0.90 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลเชิง เนื้อหา ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพปัญหาความขัดแย้งของบุคลากรทางการพยาบาล ประกอบด้วย 8 ประเด็น (2) รูปแบบการจัดการความขัดแย้ง ของบุคลากรทางการพยาบาล โรงพยาบาลพญาเม็งราย ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ การมีทัศนคติที่ดีต่อความขัดแย้ง การมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับความขัดแย้ง และการใชักระบวนการจัดการความขัดแย้ง 5 ขั้นตอน (3) หลังจากทดลองใช้รูปแบบการจัดการความขัดแย้ง กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติที่ดีต่อความขัดแย้ง อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.83 SD = 0.38) การมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับความขัดแย้ง อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 12.9 SD = 0.90) และมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการความขัดแย้ง ในภาพรวมในระดับมากที่สุด ( X = 4.90 SD = 0.91) โดยมีความชัดเจนอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.91 SD = 0.13) ความเข้าใจง่ายอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.88 SD = 0.14 ) และมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในระดับมากที่สุด ( X = 4.92 SD = 0.11)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารความขัดแย้งth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการความขัดแย้งของบุคลากรทางการพยาบาลโรงพยาบาลพญาเม็งราย จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeThe development of the conflict management model of nursing personnel at Phayamengrai Hospital, Chiang Rai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (1) to analyze personnel conflict situations in nursing, (2) to develop a conflict management model for nursing personnel, and (3) to evaluate the effectiveness of a conflict management model of nursing personnel at Phayamengrai Hospital, Chiang Rai Province. The sample comprised 12 persons who were head nurses, deputy chief nurses, the head of family practice, and the head of pharmacy. Research tools were used as follows: 1) semi structured interview for exploring conflict situations of nursing personnel in focus groups, 2) a conflict management model, 3) questionnaires for evaluating the satisfaction of a conflict management model which was developed by the researcher. The IOC of research tools were .92, .84, and .90 respectively. Data were analyzed by content analysis, frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results of this research were as follows. 1) The conflict situations experienced by nursing personnel included eight issues. 2) The conflict management model comprised three sections: (1) good attitudes for conflict, (2) relevant knowledge on conflicts, and (3) a conflict management model consisting of five steps. 3) After the conflict management model was tried, the sample rated the highest level in terms of (a) the good attitude of conflict ( X = 4.83, SD = 0.38 ), the relevant knowledge of a conflict (X = 12.9, SD = 0.90) and the satisfaction with the conflict management model (X = 4.90, SD = 0.91). They rated the model as clear (X = 4.91, SD= 0.13 ), intelligible (X = 4.88, SD = 0.14 ), and adaptable (X =4.92, SD = 0.11 ).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib140607.pdfเอกสารแบับเต็ม19.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons