Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัชนี นามจันทรา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริเพ็ญ วีระจิตต์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-11T07:02:40Z-
dc.date.available2022-11-11T07:02:40Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2122-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพี่อ (1) พัฒนารูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงให้เหมาะสม กับบริบท โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี (2) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยง และ (3) ประเมินความพึงพอใจต่อการนำรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยง ที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างหรือผู้ให้ข้อมูลได้รับการลัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วย 1) ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน สำหรับประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ 2) พยาบาลวิชาชีพพี่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วยพยาบาลจบใหม่ 12 คน พยาบาลพี่เลี้ยง 12 คน และหัวหน้าหอผู้ป่วย 6 คน สำหรับประเมินความ พึงพอใจต่อการนำรูปแบบไปใช้เครื่องมือการวิจัยมี 3 ชุด ได้แก่ (1) รูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงที่พัฒนา โดย สุพรรณี พูนเพิ่มสุขสมบัติ (2) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงที่พัฒนาขึ้น และ (3) แบบประเมิน ความพึงพอใจต่อผลการนำรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงที่พัฒนาขึ้นมาใช้ใน โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี เครื่องมือผ่าน การตรวจสอบความตรงจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบดังนี้ (1) รูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ (ก) วัตถุประสงค์ (ข) ขั้นตอนการดำเนินงาน (ค) แนวทางในการนำรูปแบบไปใช้และ (ง) แผนการ ปฏิบัติงานของพยาบาลพี่เลี้ยง และพยาบาลวิชาชีพจบใหม่ซึ่ง ประกอบด้วย 3 ระยะ ได้แก่ ระยะการสร้าง สัมพันธภาพ ระยะการแสดงบทบาทพยาบาลพี่เลี้ยง และระยะสี้นสุดของการเป็นพยาบาลพี่เลี้ยง และ (2) รูปแบบ พยาบาลพี่เลี้ยงโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี พี่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมกับบริบท โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ร้อยละ 90 และ (3) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการนำรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงที่พัฒนาขึ้นไปใช้ ได้ค่าเฉลี่ยโดยอยู่ในระดับมาก (M=4.40 ร£>=.563)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลพี่เลี้ยงth_TH
dc.subjectพยาบาล -- การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a nursing mentor model for Suratthani Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.335en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (I) to develop an appropriate nursing mentor model with the context of Suratthani Hospital, (2) to evaluate the appropriation of the developed model, and (3) to evaluate the satisfaction of the model application in Surathani Hospital. The sample or key informants were selected by using purposive sampling technique — comprising 2 groups; 5 experts to evaluate the appropriation of the developed model, and professional nurses working in Surathani Hospital which included 12 novices, 12 mentor nurses, and 6 head nurses for evaluation the satisfaction of the model application. Three parts of research tools were used as follows. 1) Nursing mentor model which was developed by Supannee Poonpermsuksombut, 2) The form to evaluate the appropriation of the developed nursing mentor model, and 3) the questionnaire for satisfaction evaluation to the developed model. The content validity was verified by 5 experts, and the CVI was 1. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, and standard deviation, and content analysis. The research findings were as follows. (1) The developed nursing mentor model of Suratthani Hospital comprised four sections: 1) objective, 2) the implementation process of nursing mentor model, 3) guideline for using the mentor model, and 4) operational plan for mentor nurses and novice nurses which comprised 3phases, (a) interpersonal relationship between mentor nurses and novice nurses, (b) mentor role action, and (c) mentor termination. (2) The developed mentor model was appropriate to operate in the context of Suratthani Hospital. Finally, (3) Mentors and Novices nurses were satisfied with the model application in Suratthani Hospital at the high level. (M=4.40 SD=.563)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib140916.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons