Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพิชชุดา วิรัชพินทุ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสาวนีย์ เนาวพาณิช, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-11T08:14:43Z-
dc.date.available2022-11-11T08:14:43Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2127-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการณ์ปัจจุบันและความ คาดหวังเกี่ยวกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลศิริราช (2) พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะฯ และ (3) ประเมินผลการนำแบบประเมินสมรรถนะฯ ไปใชั การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 เพื่อศึกษาสภาพการณ์ปัจจุบันและความคาดหวัง เกี่ยวกับสมรรถนะฯ ผู้ใช้ข้อมูลคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วยหัวหน้าหอผู้ป่วย 3 คน พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติการ 6 คน อาจารย์พยาบาล 2 คน อาจารย์แพทย์ 2 คน ผู้ป่วย 5 คน และผู้ดูแลผู้ป่วย 5 คน เครื่องมือการ วิจัย คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ระยะที่ 2 การพัฒนาแบบ ประเมินสมรรถนะฯ ซึ่งได้ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน มีค่าดัชนีตรงตามเนื้อหา 0.92 ตรวจสอบความเที่ยงจากผู้ประเมิน 4 คู่ ค่าความเที่ยงระหว่างผู้ประเมิน (Inter-rater reliability) มีค่า 0.81 และระยะที่ 3 ประเมินผลการนำแบบประเมินสมรรถนะฯ ไปใช้ โดยหัวหน้าหออภิบาลโรคหัวใจ เป็นผู้ประเมิน สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ ในหน่วยงาน จำนวน 5 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ใซ้การ วิเคราะห์เนื้อหาและข้อมูลที่ได้จากการประเมินใช้การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพการณ์ปัจจุบันและความคาดหวังของผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสมรรถนะ พยาบาลวิชาชีพ ที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลศิริราช ได้ประเด็น 8 ประเด็น ผู้วิจัยได้นำมา พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะฯ ร่วมกับแนวคิดทฤษฎี บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและสมรรถนะพยาบาล วิชาชีพฯ ที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ประกอบกับบริบทของโรงพยาบาลศิริราช (2) แบบประเมิน สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพฯ ประกอบด้วย 3 ด้าน 8 สมรรถนะหลัก 46 สมรรถนะย่อย และ (3) ผลการนำแบบ ประเมินสมรรถนะฯ ไปใช้ คู่ประเมินให้ ความเห็นว่าแบบประเมินฯ สามารถนำไปใช้ประเมินสมรรถนะของ พยาบาลได้ โดยสามารถจำแนกสมรรถนะของพยาบาล แต่ละกลุ่มได้ แต่มีข้อสังเกตว่าจำนวนรายข้อในแบบ ประเมินฯ มีจำนวนมากอาจต้องใช้เวลาในการประเมินนานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.331en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- การประเมินth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลศิริราชth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a competencies scale for cardiovascular nurses at Siriraj Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.331en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (1) to analyze the current situation and expectation on competencies of professional nurses who took care of patients with cardiovascular diseases at Siriraj Hospital, (2) to develop a competency scale for cardiovascular nurses, and (3) to evaluate the implementation of the developed competency scale. The research method was divided into 3 phases. Phase /, key informants for the first phase were selected by the purposive sampling technique and comprised 3 head nurses , 6 professional nurses, 2 nursing educators, 2 physicians, 5 patients, and 5 care givers. The research tool was semi-structured interview guidelines. Data were analyzed by content analysis. Phase II, the competencies scale for cardiovascular nurses at Siriraj Hospital was developed. Content validity was tested by five experts and content validity index (CVI) was 0.92. The reliability of the scale was verified by 4 pairs of evaluators, and the reliability was 0.81. Phase III, the implementation phase, the head nurse of the cardiac care unit evaluated the performance of five nurses. Data were analyzed by mean and standard deviation. The results of this research were as follows.! 1) The current situation and expectation of competencies of cardiovascular nurses at Siriraj Hospital consisted of 8 issues, and theywere used for developing the competency scale and the scale was also developed based on theoretical concepts, nursing roles, responsibilities and performance, competencies for cardiovascular nurses, as well as the context of Siriraj Hospital. (2) The competency scale for cardiovascular nurses at Siriraj Hospital should consist of 3 aspects (8 competencies with 46 items). (3) After implementation, the results of evaluation found that the developed competency scale could be applied at Siriraj Hospital. Assessors commented that assessments can be used to evaluate the performance of nurses. Can be classified performance of each hospital group. It has been noted that the number of items in the evaluation form may take a lot longer to evaluateen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib140919.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons