Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2132
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล | th_TH |
dc.contributor.author | อรชร แน่นหนา, 2490- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-14T01:24:12Z | - |
dc.date.available | 2022-11-14T01:24:12Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2132 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยภายใน ประกอบด้วย การเป็นที่ยอมรับ การสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์ และการส่งเสริมความก้าวหน้าในงานของพยาบาลไทย ในนครชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา (2) คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลไทย และ (3) อิทธิพลของปัจจัยภายในต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลไทย กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลไทย ที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาล สถานพยาบาล และคณะพยาบาลศาสตร์ของรัฐและเอกชน ในนครชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มีที่อยู่ทุกคน และยินดีให้ความร่วมมือในการวิจัย จำนวน 100 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ประกอบด้วย 3 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ตอนที่ 2 ปัจจัย ภายใน ตอนที่ 3 คุณภาพชีวิตการทำงาน มีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับ ตอนที่ 2 และ ตอนที่ 3 เท่ากับ 0.980 0.954 และ 0.975 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลไทย (1) มีความดิดเห็นต่อปัจจัยภายในโดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) คุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง (3) ปัจจัยภายใน ได้แก่ การเป็นที่ยอมรับ วัสดุอุปกรณ์และการสื่อสาร ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของคุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมของพยาบาลไทย ได้ร้อยละ 64.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.001 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาล--ไทย--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลไทยในนครชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing quality of working life of Thai Nurses at Chicago, State of Illinois, United State of America | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to study internal factors included: recognition; communication; equipment/materials, and promotional career laddering of Thai nurses at Chicago, Stale of Illinois, United Slate of America, (2) to explore quality of working life of Thai nurses, and (3) to find the effects of internal factors on the quality of working life of Thai nurses. The sample comprised 100 Thai nurses worked at hospitals, nursing homes and the Faculty of Nursing in Chicago. They were selected by purposive sampling. Questionnaires were used as research tool and consisted of three sections: (1) personal data, (2) internal factors, and (3) quality of the working life. The reliability of the scale, the second, and third section were 0.980, 0.954, and 0.975 respectively. Data were analyzed by frequency, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results were as follows. (1) Thai nurses rated their internal factors at the high level. (2) They rated their quality of working life al the high level. Finally, (3) recognition. equipment/materials, and communication predicted the quality of working life of Thai nurse. These predictors accounted for 64.30 % (R2 = 0.643, p < 0.001). | en_US |
dc.contributor.coadvisor | มุกดา หนุ่ยศรี | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib140921.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License