Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2135
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พิเชฐ บัญญัติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | เรณู แสงสุวรรณ, 2512- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-14T02:29:30Z | - |
dc.date.available | 2022-11-14T02:29:30Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2135 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาองค์ประกอบที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของ กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี (2) เสนอตัวแบบสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และ (3) ประเมิน ความเหมาะสมของตัวแบบสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จำนวน 271 คน และผู้แทน ระดับหัวหน้างานจำนวน 9 คน เพื่อประเมินความเหมาะสมของตัวแบบองค์การแห่งการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น เคื่รองมือการวิจัย ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มี 2 ชุด ได้แก่ (1) แบบสอบถามองค์ประกอบที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่ง การเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ได้ค่า CVI เท่ากับ .97 และนำมาหาค่าความเที่ยง โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบราค มีค่าเท่ากับ .91 และ (2) แบบประเมินความเหมาะสมของตัวแบบ ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ 1.0 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ทุกองค์ประกอบโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x = 3.51) โดยที่องค์ประกอบด้านการ เสริมพลังอำนาจสมาชิกอยู่ในอันดับสูงสุด และองค์ประกอบด้านการจัดการความรู้อยู่ในอันดับต่ำสุด (2) ตัวแบบ สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (ก) การจัดการความรู้ (ข) การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ค) การปรับเปลี่ยนองค์การ (ง) การสร้างการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และ (จ) การให้อำนาจ สมาชิก และ (3) ตัวแบบสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมกับบริบทของกลุ่มการ พยาบาลโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.414 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้องค์การ | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล | th_TH |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาตัวแบบองค์การแห่งการเรียนรู้กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Development of a learning organization model for the Nursing Department at Suratthani Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.414 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: (1) to study components affecting a learning organization for the Nursing Department at Suratthani Hospital, (2) to develop a learning organization model for the Nursing Department, and (3) to evaluate the appropriateness of the developed model. The subjects of this research included 271 professional nurses, and nine representatives of heads of departments. These subjects evaluated the appropriateness of the developed model. Two research tools were developed by the researcher. (1) Questionnaires addressed components which affected learning organization and were verified by five experts. The content validity index was 0.97, and the Cronbach’s alpha reliability coefficient was 0.91. (2) An evaluation form was used for assessing the appropriateness of the developed model. The content validity index was 0.97. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, and standard deviation, and content analysis The research findings were as follows. (1) Participants rated over all of learning organization components for the Nursing Department at Suratthani Hospital at the high level ( = 3.51). They rated personnel empowerment at the highest level, whereas knowledge management at the lowest level. (2) The learning organization model was composed of five components as follows: (a) knowledge management, (b) technology application, (c) organization transformation, (d) creation of lifelong learning , and (e) personnel empowerment. Finally, (3) the developed model was appropriate to the context of Suratthani Hospital, and it can be applied | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib141006.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License