Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2148
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ วงส์พิเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวิทย์ คุ้มคงสินธุ์, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-14T04:05:44Z-
dc.date.available2022-11-14T04:05:44Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2148-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) การเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกร (3) ความต้องการและวิธีการส่งเสริมการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า ( 1)เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุเฉลี่ย 51.23 ปี การศึกษาประถมศึกษา ทุกรายเป็นสมาชิกกลุ่ม ประสบการณ์เฉลี่ย 11.90 ปี ทุกรายได้รับการอบรม สื่อครัวเรือนมีโทรทัศน์ วิทยุ วีซีดี สื่อชุมชนมีหอกระจายข่าวและผู้นากลุ่ม เงินทุนและที่ดินใช้ของตนเอง พื้นที่เฉลี่ย 547.61 ตารางเมตร รายได้จากการเลี้ยงเฉลี่ย 64,297 บาท/ปี รายจ่ายจากการเลี้ยงเฉลี่ย 30,387 บาท/ปี (2) วัตถุประสงค์หลักเพื่อจาหน่ายเนื้อ ส่วนใหญ่เลี้ยงเป็นอาชีพเสริม พันธุ์ที่เลี้ยง คือ ไก่ไทยผสมไซ่ง่อน ไก่ไทยผสมพม่า ไก่พันธุ์พื้นเมืองไทย แหล่งที่มาได้จากการขยายพันธุ์และสนับสนุนจากกลุ่ม จานวนไก่พ่อพันธุ์เฉลี่ย 16.05 ตัว จานวนแม่พันธุ์เฉลี่ย 35.94 ตัวทุกรายมีการคัดก่อนการผสมพันธุ์ ส่วนใหญ่ขึ้นทะเบียนประวัติ ทุกรายบันทึกข้อมูล ใช้อาหารในท้องถิ่น ใช้ยาปฏิชีวนะร่วมกับสมุนไพรโรงเรือนและอุปกรณ์ มีการสร้างโรงเรือน มีตาข่ายคลุมน้ำท่วมไม่ถึง ห่างที่พัก ห่างใช้ยาฆ่าศัตรูพืช ห่างเสียงรบกวน มีที่บังลมบังแดด มีรังไข่เพียงพอ การสุขาภิบาลทำความสะอาดโรงเรือนด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ เปลี่ยนน้ำทำความภาชนะทุกวัน เปลี่ยนที่รองพื้นบ่อยๆ มีการคัดไก่ที่ป่วยออกเพื่อสังเกตอาการ มีพื้นที่ให้ไก่ออกกำลังกาย มีการกำจัดแหล่งน้ำรอบๆโรงเรือน มีการกักไก่ก่อนนำเข้าฝูง ไม่ใช้น้ำจากแหล่งสาธารณะ มีการถ่ายพยาธิ ฉีดวัคซีนให้ไก่ (3) ความต้องการการส่งเสริมในเรื่องพันธุ์ พบว่าต้องการวีซีดีสื่อบุคคลเอกชนและทางราชการแผ่นพับ เรื่องการคัดและการปรับปรุงพันธุ์พบว่าต้องการวีซีดีแผ่นพับสื่อบุคคลเอกชนและทางราชการ โรงเรือนและอุปกรณ์พบว่าต้องการวีซีดีสื่อบุคคลของราชการแผ่นพับและคู่มือ การใช้อาหารพบว่าต้องการวีซีดีแผ่นพับสื่อบุคคลเอกชนและทางราชการ ยาที่ใช้ในการรักษาโรคพบว่าต้องการวีซีดีแผ่นพับสื่อบุคคลเอกชนคู่มือและสื่อของราชการ การสุขาภิบาลพบว่าต้องการวีซีดีสื่อบุคคลของราชการแผ่นพับคู่มือและสื่อเอกชน วิธีการส่งเสริมพบว่าเกษตรกรต้องการ การสาธิตการฝึกปฏิบัติและทัศนศึกษามากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.349-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไก่--การเลี้ยง--ไทยth_TH
dc.subjectไก่ชน--การเลี้ยง--ไทยth_TH
dc.titleการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกร หมู่ที่ 3 ตำบลวังตะเคียน อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาทth_TH
dc.title.alternativeNative chicken raising by farmers in village number 3, Wang Takian Sub-district, Nong Mamong District, Chai Nat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.349-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study were to study (1) the social and economics condition of the farmers (2) the native chicken raising of farmers and (3) the needs and methods of native chicken raisingof farmers. The 84 native chicken farmers residing at village No. 3, Wang Ta Khian Sub-district, Nong Ma Mong District, Chai Nat Province were the population of the research. The structural interview schedule were used as the collecting data in the study. The statistical packages program was used in data analysis by frequency count, percentage, minimum, maximum, mean and standard deviation. The result of the research found that (1) majority of farmers were male, Their average 51.23 years of age, primary education, Belong to group members, The average experiences of native chicken farming 11.90 years, once a year in native chicken farming training, media in farmer household were TV, radio and VCD, distribution news station was community media, has own land and own fund for native chicken farming, average size of farming 547.61 square meter. The average income 64.297 baht/year, average expenses 30,387 baht/year (2) Their main objective of native chicken raising for selling chicken. Majority of farmers were the additional profession chicken variety were Thai mixed Saigon, Thai mixed Myanmar, and Thai native chicken, variety sources came from breeding and group support, average cock 16.05, average hen 35.94, has chicken registration and data record. The food feeding came from local, use antibiotic mixed herb. (3) The needs of agricultural extension were chicken variety, selection and improvement, chicken house and equipment, food feeding, medicine, management and sanitation. The media for serve the need of agricultural extension were VCD, Folder, and Personal media. The procedure of agricultural extension were the demonstration and handbook, practice, study tour and the lecture. The least need was the feeding trial.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135260.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons