Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปริญญา ปานเจริญ, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-14T04:13:29Z-
dc.date.available2022-11-14T04:13:29Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2149-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) การผลิตมะม่วงของเกษตรกร (3) ความต้องการความรู้ด้านการส่งเสริมการเกษตรของเกษตรกรเกี่ยวกับการผลิตมะม่วง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 51.98 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา สมาชิกในครัวเรือนที่ใช้ในการผลิตมะม่วงเฉลี่ย 1.86 คน การจ้างแรงงานภายนอกเฉลี่ย 3.08 คน พื้นที่ปลูกเฉลี่ย 11.91 ไร่ มีประสบการณ์ในการผลิตมะม่วงเฉลี่ย 15.8 ปี เป็นสมาชิกของสถาบันเกษตรกรต่างๆ เกษตรกรส่วนใหญ่มีที่ดินสาหรับการผลิตมะม่วงเป็นของตนเอง มีเงินทุนสาหรับผลิตมะม่วงของตนเอง ผลิตมะม่วงเพื่อเป็นรายได้เสริมจากอาชีพอื่น มีการประกอบอาชีพทางการเกษตรอื่นร่วมกับการผลิตมะม่วง ส่วนใหญ่ทำนาข้าว มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากเกษตรกรเพื่อนบ้าน (2) เกษตรกรส่วนใหญ่มีการใช้วัสดุปรับปรุงดิน และปุ๋ยรองพื้นก่อนปลูก ใช้กิ่งทาบในการปลูก ปลูกมะม่วงระยะ 6x6 เมตร พันธุ์มะม่วงที่นิยมปลูกคือ น้ำดอกไม้ และเขียวเสวย ให้น้ำด้วยวิธีปล่อยเข้าร่องสวน ให้ปุ๋ยด้วยการหว่านรอบทรงพุ่ม ไม่นิยมบังคับการออกดอก ห่อผล และไม่นิยมขยายพันธุ์มะม่วงเอง โรคที่สาคัญคือ แอนแทรกโนส และราดา แมลงศัตรูพืชที่สาคัญคือเพลี้ยไฟ และแมลงวันผลไม้ เกษตรกรส่วนใหญ่คัดขนาดคุณภาพผลผลิตมะม่วงในโรงเรือน บรรจุใส่ลังพลาสติก และจำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลาง ได้ผลผลิตเฉลี่ย 712.48 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนเฉลี่ย 3,716 บาทต่อไร่ และรายได้เฉลี่ย 9,380.67 บาทต่อไร่ (3) เกษตรกรมีความต้องการด้านการส่งเสริมการเกษตรมากที่สุดในด้าน การบังคับการออกดอก โดยเจ้าหน้าที่จากทางราชการ ผ่านสื่อโทรทัศน์ และคู่มือการผลิตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/ 10.14457/STOU.the.2012.109-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมะม่วง--การปลูกth_TH
dc.titleการผลิตมะม่วงของเกษตรกร อำเภอราชสาส์น จังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeMango production by farmers in Ratchasan District, Chachoengsao Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.109-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to (1) study the social and economics status of farmers (2) investigate the mango production of farmers and (3) find out the agricultural extension need of farmers concerning the mango production. The 126 mango production farmers registration with Office of Ratchasan Agricultural District, Chachoengsao Province in 2011 were the sample of the study. The interview schedule was the instrument for collecting data. The statistical package was used as the data analysis. The frequency count, percentage, minimum, maximum, mean and standard deviation were used as statistical analysis. The research concluded that (1) majority of farmers has average 51.98 years of age, primary education, average member in household 1.86 persons, average outer labor 3.08 persons, area of planting 11.91 rais, and average mango production experiences 15.8 years. Majority of farmers were member of farmer institution, has own land for production and own fund, mango production for additional profession, has other agricultural profession cooperation to mango production, such as rice farming, has received information from neighbor. (2) Majority of farmers used soil improvement materials, filling fertilizer before planting, used branch approaching, 6x6 meter spacing, the variety of mango used Nam Dog Mai and Khiewsawoei, watering by glowing to the furrow, scattering fertilizer around the plant, no flowering force, protecting the fruit and no mango variety propagation, antractnose and black mold were diseases, thrips and fruitfly were the pest, selected the mango quality in the greenhouse, put in plastic crate, via middle man with average production 712.48 kilogram/rai, average costs 3,716 baht/rai and average income 9,380.67 baht/rai (3) The flowering forcing was the most need for agricultural extension by the government official via television and mango production manual.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135261.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons