Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/214
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐth_TH
dc.contributor.authorฐิตินันท์ อินทรปาลิต, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-02T07:52:42Z-
dc.date.available2022-08-02T07:52:42Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/214en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเกี่ยวกับความเสียหายที่มีต่อทรัพย์สินผู้อื่น (2) ศึกษาประวัติแนวคิดทฤษฎีและหลักการการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเกี่ยวกับความเสียหายที่มีต่อทรัพย์สินผู้อื่น (3) ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเกี่ยวกับความเสียหายที่มีต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอกทั้งของไทยและต่างประเทศ (4) ศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถเกี่ยวกับความเสียหายที่มีต่อทรัพย์สินผู้อื่น (5) นำหลักที่ศึกษามาเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 เกี่ยวกับความเสียหายที่มีต่อทรัพย์สินผู้อื่น งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมาย โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยทางเอกสาร โดยรวบรวมค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ วารสาร บทความ ข้อมูลที่ได้จากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรือเว็บไซต์ (website) ที่เกี่ยวข้องของไทยและต่างประเทศ รวมถึงสารนิพนธ์และวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนตัวบทกฎหมายทั้งของไทยและต่างประเทศ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ยังมีปัญหาเกี่ยวกับขอบเขตความคุ้มครอง การบังคับใช้กฎหมายละเมิด อัตราเบี้ยประกนภัย จำนวนเงินที่เอาประกันภัย และประเภทของการประกนภัยรถยนต์ โดยเมื่อเกิดอุบัติภัยทางรถยนต์ขึ้น หากมีความเสียหายของทรัพย์สิน เกิดขึ้น และรถยนต์คันที่ก่อเหตุละเมิดยอมรับผิด และทางประกันภัยภาคสมัครใจไว้ซึ่งรวมความคุ้มครอง ทรัพย์สินไว้ผู้เสียหายก็จะได้รับการชดใช้เยียวยาได้เร็วขึ้น ดังเช่น ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ในมลรัฐนิวยอร์ค และแคลิฟอร์เนีย และประเทศอิตาลี ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยนี้คือ รัฐบาลต้องกาหนดนโยบายบังคับให้ประชาชนซึ่งใช้รถยนต์ ต้องซื้อกรมธรรม์ประกนภัยไว้สองฉบับคือ (1) ประกนภัยภาคบังคับเพื่อคุ้มครองชีวิต ร่างกาย และอนามัย ของผู้ประสบภัยจากรถยนต์ หรืออุบัติเหตุทางรถยนต์ (2) ประกันภัยภาคสมัครใจเพื่อคุ้มครองความ เสียหายทรัพย์สินของบุคคลภายนอก เพื่อจะช่วยเยียวยา บรรเทาความเสียหายเกี่ยวกับ ความเสียหายของทรัพย์สินบุคคลภายนอกได้ทันท่วงที อันจะนำพาประโยชน์และบรรเทาความเดือดร้อนแก่สังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยth_TH
dc.formattexten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.111en_US
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.111en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.th_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535th_TH
dc.subjectประกันอุบัติเหตุ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectค่าเสียหายth_TH
dc.titleปัญหากฎหมายเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ศึกษากรณี ค่าเสียหายที่เกิดแก่ทรัพย์สินของผู้อื่นth_TH
dc.title.alternativeLegal problem concerning the Protection for Motor Vehicle Accident Victims Act B.E. 2535 (1992) : a study on third property damage indemnityen_US
dcterms.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.111-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.111en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to (1) study the background and significance of problems about the protection for motor vehicle accident victims concerning third property damage, (2) study the histories, thoughts, theories and the protection for motor vehicle accident victims concerning third property damage principle, (3) study international and local laws involved with the protection for motor vehicle accident victims concerning third property damage, (4) study problems and obstacles about the protection for motor vehicle accident victims concerning third property damage, and (5) put forward an idea from this research to amend and improve the protection for motor vehicle accident victims concerning third property damage. This research analyses a detrimental problem because of land transport accidents, which is now not adequately protected from the Protection Motor Vehicle Accident Victims Act B.E.2535 (1992); in other words, it does not include third property damage. This research procedure comprises documentary search, collecting data from books, journals, articles, information gathering from the internet, thesis and international and local laws about the protection for motor vehicle accident victims. As a result, the Protection for Motor Vehicle Accident Victims Act B.E.2535 (1992) there are problems about coverage,enforcement ,Tort Law, insurance premium,face amount and type of the motor insurance policy.Whenever any land transport accident happened ,if there are the property damage always happened subsequently. If a car that infringes other people’s right stands corrected and have a Voluntary Motor Insurance that includes the protection for motor vehicle accident victims, those victims will be remedied immediately such as Canada,USA (New York and California) and Italy. This research suggested that the government policy must force people to buy two insurances,(1)the compulsory insurance to cover the loss of life, body and health of the victims of a car and (2)the volantry insurance for car that owns the second edition to cover damage to third party property. Both insurances will instantly remedy damage to third property damage and provide huge advantage for our economy and society.en_US
dc.contributor.coadvisorสุเมธ จานประดับth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib143893.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.