Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2152
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สิริรัตน์ วิภาสศิลป์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | คัชรินทร์ ตยาคี, 2500- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-14T06:19:32Z | - |
dc.date.available | 2022-11-14T06:19:32Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2152 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพร้อมของพยาบาลสู่ความเป็นเลิศ ระดับสากลในองค์การพยาบาล โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร และ (2) เสนอแนวทางการ พัฒนาความพร้อมของพยาบาลสู่ความเป็นเสิศระดับสากลในองค์การพยาบาล กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 440 คน ประกอบด้วยหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 121 คน โดยศึกษาจากประชากร และพยาบาลระดับปฏิบัติ คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น จำนวน 319 เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถาม มี 3 ตอน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) ระดับความพร้อมของพยาบาลสู่ความเป็นเลิศระดับสากลในองค์การพยาบาล และ 3) แนวทางในการพัฒนาความพร้อมสู่ความเป็นเลิศระดับสากล แบบสอบถามผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเองผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความ ตรงตามเนื้อหาทั้งฉบับ เท่ากับ 0.80 และความเที่ยงของแบบสอบถามมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอบบาค เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและความพร้อมของพยาบาล ด้วยสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ความพร้อมของพยาบาลสู่ความเป็นเลิศระดับสากลในองค์การพยาบาล โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง (M = 3.93, SD = .49) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีความพร้อมระดับสูง สามอันดับแรก ได้แก่ ภาพลักษณ์ของการพยาบาล (M = 4.22, SD = .57) การพัฒนาวิชาชีพ (M = 4.20, SD = .57) และสัมพันธ์ภาพระหว่างสหวิชาชีพ (M = 4.09, SD = .56) ส่วนด้าน นโยบายและการจัดโปรแกรมสำหรับบุคลากรอยู่ในระดับปานกลาง (M = 3.46, SD = .68) และ (2) แนวทาง สำคัญในการพัฒนาความพร้อมสู่ความเป็นอิสระกับสากลในองค์การพยาบาล โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง คือ การพัฒนาความสามารถทางกายภาพการสื่อสารในระดับสากล และการเป็นองค์การเรียนรู้สู่สากล | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล | th_TH |
dc.subject | บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title | ความพร้อมของพยาบาลสู่ความเป็นเลิศระดับสากลในองค์การพยาบาล โรงเรียนพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Professional nurses' readiness towards international nursing excellence at a tertiary hospital in Bangkok Metropolitan | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive study were: (1) to analyze the current situation of professional nurses’ readiness towards international nursing excellence at a tertiary hospital in Bangkok Metropolitan and (2) to propose guidelines on how to develop professional nurses’ readiness towards international nursing excellence. The sample comprised 440 professional nurses, including 121 head nurses who were selected all by researcher and 319 professional nurses who were selected by the stratified random sampling technique. Questionnaires were used as a research instrument and consisted of three parts: (1) demographic data, (2) level of the professional nurses’ readiness towards international nursing excellence, and (3) guidelines on how to develop the professional nurses’ readiness towards international nursing excellence. The validity of the instrument was verified by five experts, and the content validity index was 0.80. The Cronbach’s alpha reliability coefficient was 0.95. Research data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The research findings were as follows. (1) Professional nurses rated their readiness of the current situation towards international nursing service excellence at the high level. (M= 3.93, SD = .49). The top three of their readiness were Image of Nursing (M = 4.22, SD = .57), Professional Development (M = 4.20, SD = .57), and Interdisciplinary Relationships (M = 4.09. SD = .56); whereas. Personnel Policies and Programs was rated at the medium level (M = 3.46, SD = .68). (2) The essential guidelines to develop professional nurses’ readiness towards international nursing excellence were to develop nurses’ ability in international communication and to establish an international learning organization | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib142791.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License