Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2159
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัญญาณัฐ บุญ-หลง, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-14T07:15:32Z-
dc.date.available2022-11-14T07:15:32Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2159-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบจำนวนวันนอนในโรงพยาบาล และ (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจในบริการพยาบาลของ ผู้ป่วยระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับบริการพยาบาลแบบปกติ และผู้ป่วยที่ได้รับบริการพยาบาล โดยใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีผู้ป่วยขยายหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ป่วยโรคก้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ จำนวน 36 คน ที่ ได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจงและจับคู่ตามอายุ เพศ และชนิดของการขยายหลอดเลือดหัวใจ ก่อนแบ่งเป็นกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการปฏิบัติสำหรับผู้ไห้บริการในการ จัดการรายการในผู้ป่วยที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ แผนการดูแลผู้ป่วย แบบประเมินผู้ป่วยขยายหลอดเลือดหัวใจ และแบบสอบถามความพึงพอใจในบริการพยาบาลของผู้ป่วย โดยแบบสอบถามความพึงพอใจในบริการพยาบาลของผู้ป่วย เครี่องมือแบบสอบถามความพึงพอใจในบริการพยาบาลของผู้ป่วย เครี่องมือที่ใช้ในการวิจัยทั้งหมดได้ผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหา และความเที่ยง โดยแบบสอบถามความพึงพอใจในบริการพยาบาลของผู้ป่วยมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา 0.80 และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า (1) จำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่ได้รับบริการพยาบาลโดยใช้การจัดการ ผู้ป่วยรายกรณี น้อยกว่าผู้ป่วยที่ได้รับบริการพยาบาลแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ผู้ป่วยที่ได้รับบริการโดยใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีมีความพึงพอใจสูงกว่าผู้ป่วยที่ได้รับบริการพยาบาลแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.418en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleผลของการจัดการรายกรณีในผู้ป่วยที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจต่อจำนวนวันนอนในโรงพยาบาล และความพึงพอใจในบริการพยาบาลth_TH
dc.title.alternativeEffects of case management in patients with percutaneous coronary intervention on length of stay and nursing service satisfactionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.418en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were: (1) to compare lengths of hospital stay and (2) to compare nursing service satisfaction between two groups: case management and traditional care. The purposive sample was composed of 36 patients who had percutaneous coronary intervention. These subjects were grouped and matched based on their age, gender, and percutaneous coronary intervention type- an experimental group (18) and a control group (18). Research tools included the case management manual for providers in caring for patients with percutaneous coronary intervention, case management plan, the evaluation form for patients with percutaneous coronary intervention, and patients’ satisfaction questionnaires. All research tools were examined for content validity and reliability. The Index of Item Objective Congruence and Cronbach’s alpha reliability of the Patients’ Satisfaction Questionnaire were 0.80 and 0.95 respectively. Statistical techniques utilized in data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t-test Research finding were as follows. I) Lengths of stay of patients who were cared for by case management were significantly shorter than those who were cared for by traditional care (p< 0.05). 2) The former group rated their satisfaction on case management significantly higher than the latter group (p < 0.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib142793.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons