Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/215
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์th_TH
dc.contributor.authorธัญรดี โทณวณิก, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-03T01:29:11Z-
dc.date.available2022-08-03T01:29:11Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/215en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิง 2. เพื่อศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงตามกฎหมายไทย กฎหมายต่างประเทศ และอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ 3. เพื่อวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายไทยเกี่ยวกับการคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิง 4. เพื่อหาแนวทางในการคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงให้มีมาตรฐานที่ดียิ่งขึ้น และไม่ต่ำกว่ามาตรฐานการคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงในต่างประเทศและแรงงานหญิงไทย วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นการวิจัยเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้าจากตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตำรา หนังสือ บทความทางวิชาการ เอกสารที่ได้มีการแสดงความคิดเห็นโดย ข้าราชการหรือภาคประชาสังคม แนวคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด รวมทั้งการศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตทั้งภาษาไทย ภาษาฝรั่งเศส และภาษาอังกฤษ โดยรวบรวมและเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาพบว่าการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงของไทยยังไม่ได้รับความคุ้มครองที่เหมาะสม และไม่สอดคล้องกับมาตรฐานแรงงานขององค์การแรงงานระหว่างประเทศหลายประการ เมื่อวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบการคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงตามกฎหมายไทยกับอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศและกฎหมายของต่างประเทศแล้วเห็นว่า ควรมีกฎหมายคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงเป็นการเฉพาะโดยการประกาศใช้ระเบียบ ก.ตร. ว่าด้วยการคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงในเรื่อง ดังนี้ 1. งานที่ห้ามมิให้ข้าราชการตำรวจหญิงทำ 2. การคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงในลักษณะของการทำงานกลางคืน 3. การคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงที่มีครรภ์ 3.1 งานที่ห้ามมิให้ทำ 3.2 วัน เวลา ทำงาน 3.3 สิทธิลาคลอด 3.4 สิทธิขอเปลี่ยนงานชั่วคราวระหว่างตั้งครรภ์ 3.5 ห้ามเลิกจ้างเพราะเหตุมีครรภ์ 4. การคุ้มครองข้าราชการตำรวจหญิงในลักษณะที่ต้อง รับผิดชอบต่อครอบครัวth_TH
dc.formattextth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.24en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.th_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectตำรวจหญิง--ไทยth_TH
dc.subjectสตรี--การจ้างงาน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleการคุ้มครองการทำงานของข้าราชการตำรวจหญิงth_TH
dc.title.alternativeLabour protection of policewomen at workth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.24-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.24en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are: 1. To study the concept on the labour protection of policewomen at work; 2. To study laws on the labour protection for the policewomen in accordance with Thai law, foreign law, and the convention of International Labour Organization; ILO; 3. To comparatively compare among ILO’s convention, foreign law, and Thai law on the labour protection of the policewomen at work; 4. To seek guidelines regarding the labour protection of the policewomen at work for obtaining a better standard which is not lower than those labour protection of policewomen at work in overseas and those protection of Thai female labours at work. This is a qualitative research, acquiring the information from the Documentary Research, studying, and researching from relevant legislation, textbooks, books, academic articles, opinion by social and official , rulings, and judgments of the Supreme Administrative Court, as well as the information from the internet in both Thai, French and English with the methods of data collection and compose. On the basis of the results of this research, it can be concluded that Thai policewomen’s rights at work have not properly been protected and are not in conformity with the labour standard of ILO in various aspects. Upon the comparative analysis between the work protection of Thai policewomen and ILO’s convention, and foreign law, the researcher, therefore, considers that a law on the labour protection of the policewomen at work should be specifically established by announcing the Rules of Police Commission on Labour Protection of Policewomen at Work, in order to give them the protection on: 1. Prohibited works for the policewomen; 2. Protection for policewomen at night-time work; 3. Protection for pregnant policewomen at work; 3.1 Prohibited works; 3.2 Working days and time; 3.3 Maternity leave; 3.4 Right of temporary work transfer during the pregnancy; 3.5 Non-dismissal due to pregnancy; and 4. Protection for the policewomen taking account of their family responsibility.en_US
dc.contributor.coadvisorวราภรณ์ วนาพิทักษ์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib162067.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.