Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2164
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนี กังวานพรศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัคคยุต บุญอินทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-14T08:03:54Z-
dc.date.available2022-11-14T08:03:54Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2164-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษา (1) ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และดัชนีหลักทรัพย์ต่างประเทศในช่วงมกราคม 2548- ธันวาคม 2552 (2) ความส้มพันธ์ระหว่างดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศและดัชนีหลักทรัพย์ต่างประเทศในช่วง ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐอเมริกา (มกราคม 2548- มิถุนายน 2550) และช่วงระหว่าง วิกฤตและหลังวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐอเมริกา (กรกฎาคม 2550- ธันวาคม 2552) ดัชนีหลักทรัพย์ต่างประเทศที่นำมาศึกษารวม 12 ดัชนี ซึ่งประกอบด้วยดัชนีหลักทรัพย์ ของประเทศอุตสาหกรรมสำคัญ ประเทศในกลุ่มเศรษฐกิจเกิดใหม่ และกลุ่มประเทศอาชียน ข้อมูล ดัชนีหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและดัชนีหลักทรัพย์ต่างประเทศที่ศึกษา ได้รวบรวมจากธนาคาร แห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการต่างประเทศ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของ ดัชนีเมื่อปิดตลาด ณ วันทำการซื้อขายสุดท้าย ของเดือนตั้งแต่เดือนมกราคม 2548 ถึง เดือนธันวาคม 2552 วิธีการศึกษาใช้การวิเคราะห์ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน เพื่อดูค่าความสัมพันธ์และทิศทางของความสัมพันธ์ของดัชนี หลักทรัพย์ โดยกำหนดนัยสำคัญของค่าลัมประสิทธ์ฌระคับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลของการทดสอบ พบว่า (1) ในช่วงมกราคม 2548- ธันวาคม 2552 ดัชนีหลักทรัพย์ ต่างประเทศที่นำมาศึกษา มีความสัมพันธ์กับดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในระดับ ค่อนข้างสูง (2) ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐอเมริกา ดัชนีหลักทรัพย์ไทยมี ความสัมพันธ์ค่อนข้างตํ่ากับดัชนีหลักทรัพย์ด่างประเทศ ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงเฉพาะตัว ภายในประเทศไทย แต่ ในช่วงระหว่างเกิดวิกฤตและหลังวิกฤติ ดัชนีหลักทรัพย์ไทยมี ความสัมพันธ์กับดัชนีหลักทรัพย์ต่างประเทศทั้ง 12 ดัชนี ในทิศทางเดียวกันสูงมาก ซึ่งเป็นไปตาม แนวคิดการเผชิญผลกระทบร่วมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและดัชนีหลักทรัพย์ต่างประเทศth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between SET index and selected foreign indicesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118739.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons