Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิศ ประสพศิลป์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุชจรีย์ ชุมพินิจ, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-15T01:50:59Z-
dc.date.available2022-11-15T01:50:59Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2172-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพี่อ 1) พัฒนารูปแบบการนิเทศทางคลินิกสำหรับ หัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช 2) เปีรยบเทียบความรู้และความพึงพอใจของหัวหน้า หอผู้ป่วยก่อนและหลังการใช้รูปแบบการนิเทศทางคลินิก 3) เปรียบเทียบความพึงพอใจของ พยาบาลวิชาชีพ ผู้รับการนิเทศก่อนและหลังได้รับการนิเทศโดยใช้รูปแบบการนิเทศทางคลินิก วิธีดำเนินการศึกษามี 5 ขั้นตอน คือ 1) สังเคราะห์สภาพการณ์การนิเทศทางคลินิก 2) ออกแบบรูปแบบการนิเทศทางคลินิก 3) ทดลองใช้รูปแบบการนิเทศทางคลินิก 4) ประเมินผล การใช้รูปแบบการนิเทศทางคลินิก และ 5) สรุปและปรับปรุงรูปแบบการนิเทศทางคลินิก โดยมี กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ หัวหน้าหอผู้ป่วย และพยาบาลวิชาชีพผู้รับการนิเทศ กลุ่มละ 22 คนที่ถูก คัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือในงานวิจัยประกอบด้วย 1) แนวคำถามในการระดมสมอง 2) คู่มือ การใช้รูปแบบการนิเทศทางคลินิก 3) แบบสอบถามความรู้และความพึงพอใจของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทั้งสองส่วนมีดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (CVI) เท่ากันคือ .90 และมีค่าความเที่ยง K.R-20 และ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ครอนบาค เท่ากับ .74 และ .94 ตามลำดับ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ ของพยาบาลวิชาชีพผู้รับการนิเทศ มีดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา (CVD0.84 และมีค่าความเที่ยง สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ครอนบาค เท่ากับ .94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการนิเทศทางคลินิกตามแนวคิดของพรอคเตอร์ ประกอบด้วย การนิเทศเพี่อสร้างการเรียนรู้ การนิเทศเพี่อสนับสนุนเชิงวิชาชีพ และการนิเทศเพี่อปฏิบัติงานตาม มาตรฐาน 2) ความรู้เกี่ยวกับการนิเทศทางคลินิกของหัวหน้าหอผู้ป่วยก่อนและหลังการใช้รูปแบบ การนิเทศทางคลินิกไม่แตกต่างกัน แต่ความพึงพอใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยและของพยาบาลวิชาชีพ ผู้รับการนิเทศหลังการใช้รูปแบบการนิเทศทางคลินิกดีกว่าก่อนใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.304en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศทางคลินิกสำหรับหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชth_TH
dc.title.alternativeThe development of a clinical supervision model for head nurses at Bhumibol Adulyadej Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.304en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research and development were: (1) to develop a Clinical Supervision Model (CSM) for head nurses in Bhumibol Adulyadej Hospital, (2) to compare knowledge and satisfaction of head nurses before and after model implementation, and (3) to compare satisfaction of registered nurses before and after model implementation. The study process consisted of five stages: 1) situation synthesize related to clinical supervision, 2) design the CSM, 3) tryout the CSM, 4) evaluate the CSM, and 5) conclude and improve the CSM. The sample included two groups: head nurses (22) and registered nurses (22) in Bhumibol Adulyadej Hospital. They were selected by the purposive sampling. The research tools were 1) question guideline for brain storming, 2) the CSM application handbcxik. 3) knowledge and satisfaction questionnaires for head nurses which their CVI was.90; while, the reliability of K.R-20 and Cronbach’s alpha coefficient were .74 and .94, respectively. 4) Satisfaction questionnaires for registered nurse which the CVI was .84 and the reliability of Cronbach’s alpha coefficient was .94. Research data was analyzed by descriptive statistics and t-test. The result revealed as follows. 1) The CSM consisted of the process according to Proctor concept as formative supervision, restorative supervision, and normative supervision. 2) There was no significant difference of head nurse’s knowledge between before and after the CSM implementation; however, head nurses and registered nurses satisfied the CSM significantly higher after implementing (p< .05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib144792.pdfเอกสารฉบับเต็ม30.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons