Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2175
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | มุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | โสภาวรรณ มั่นเขตวิทย์, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-15T02:28:19Z | - |
dc.date.available | 2022-11-15T02:28:19Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2175 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดและอารมณ์ที่เฉพาะต่อ การจัดการความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพ (2) พฤติกรรมการจัดการความขัดแย้งของพยาบาล วิชาชีพ และ (3) อิทธิพลของความคิดและอารมณ์ที่เฉพาะต่อการจัดการความขัดแย้งต่อพฤติกรรม การจัดการความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 18 กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 18 จำนวน 163 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 ความคิด และอารมณ์ที่เฉพาะต่อการจัดการความขัดแย้ง และส่วนที่ 3 พฤติกรรมการจัดการความขัดแย้ง มี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เท่ากับ 0.86 และ 0.98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพมี (1) ความคิดและอารมณ์ที่เฉพาะต่อการจัดการ ความขัดแย้งโดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) พฤติกรรมการจัดการความขัดแย้งอยู่ในระดับปานกลาง (3) การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการจัดการความขัดแย้งและอิทธิพลจากสถานการณ์ต่อการจัดการ ความขัดแย้ง มีอิทธิพลทางบวกและร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการความ ขัดแย้งโดยรวมของพยาบาลวิชาชีพ ได้ร้อยละ 32.20 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาล -- ความเครียดในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การบริหารความขัดแย้ง | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการความขัดแย้งของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 18 | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing conflict management behaviors of professional nurses at general hospitals in Public Health Inspection Region 18 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to study cognition and affection to conflict management of professional nurses, (2 ) to investigate conflict management behaviors of professional nurses, and (3 ) to explore the influence of cognition and affection to conflict management to conflict management behaviors of professional nurses at general hospitals in Public Health Inspection Region 18. The sample comprised 163 professional nurses who worked at the nursing department in general hospitals, Public Health Inspection Region 18 and were selected by the simple random sampling technique. The research instrument was questionnaires including three parts: part 1: personal data, part 2: cognition and affection to conflict management, and part 3: conflict management behaviors. The reliability of the second part and the third part were 0.86, and 0.98 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis. The findings were as follows. (1) Professional nurses rated their cognition and affection to conflict management at the high level. (2) They rated their conflict management behaviors at the moderate level. (3) Perception of self-efficacy about conflict management, and perception of influences on situations to conflict management were significantly explained variance of conflict management behaviors. These predictors accounted for 32.20% (R2 = 0.322, p < 0.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib144794.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License