Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2177
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงกมล ปิ่นเฉลี่ยว, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | เบญจพร ก้องบูลยาพงษ์, 2517- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-15T02:44:01Z | - |
dc.date.available | 2022-11-15T02:44:01Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2177 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษา (1) ระดับความสุขในการทำงาน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศองค์การ และความฉลาดทางอารมณ์กับความสุข ในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ปัจจัยทำนายความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี คำนวณ ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยวิเคราะห์อำนาจทดสอบ สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น จำนวน 160 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) บรรยากาศองค์การ 3) ความฉลาดทางอารมณ์และ 4) ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตาม เนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของแบบสอบถามทั้งฉบับ (S-CVI) ของส่วนที่ 2, 3, และ 4 เท่ากับ .89, .89 และ .95 ตามลำดับ ค่าสัมประสัทธิ์อัลฟ่าของครอนบราค ของ แบบสอบถามส่วนที่ 2, 3, และ 4 เท่ากับ .97, .93 และ .86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการ วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า (1) ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับสูง (M = 3.69 SD. = 0.41) (2) บรรยากาศองค์การและความฉลาดทางอารมณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกใน ระดับสูงกับความสุขของในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = 0.59 และ 0.58 ตามลำดับ) บรรยากาศองค์การ และความฉลาดทางอารมณ์ สามารถร่วมกันทำนาย ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 46 (R2 = 0.46) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.308 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.subject | พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing happiness in work place of professional nurses, community hospital, Surat Thani Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.308 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were to study (1) the level of happiness in work place (2) the relationship between personal factors, organizational climate and emotional quotient of happiness in work place of professional nurses and (3) the predicting factors of happiness in work place of professional nurses Community Hospital, Surat Thani Province. The samples of this study composed of 160 professional nurses in Community Hospital, Surat Thani Province. The sample size was calculated by power analysis, and were selected by the stratified random sampling technique. Questionnaires were used as research instruments consisting of four parts: 1) personal factors, 2) organizational climate, 3) emotional quotient and 4) happiness in work place of professional nurses. Content validity was verified by five experts and the Scale - Content Validity Index were .89, .89 and .95 respectively. The Cronbach’s Alpha reliability coefficients of the second to the fourth parts of questionnaires were .97, .93, and .86 respectively. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation coefficient and stepwise multiple regressions analysis. The research findings were as follows. (1) Professional nurses rated theirs happiness in work place at the high level. (2) There were significantly positive correlations between organizational climate and emotional quotient with happiness in work place at the high level, (r = 0.59, 0.58 respectively, p < .05). Both organizational climate and emotional quotient could predict 46 % of happiness in work place and of professional nurses. (R2 = 0.46) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib144819.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License