Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2181
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสิริรัตน์ วิภาสศิลป์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชรัสนิกูล ยิ้มบุญณะ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิรตี ชุนประเสริฐ, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-15T03:38:30Z-
dc.date.available2022-11-15T03:38:30Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2181-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านบุคคลของ ผู้บริการพยาบาล (2) ระดับพฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของผู้บริการพยาบาล (3) เปรียบเทียบ พฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของผู้บริการพยาบาลในบทบาทเป็นผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ และ (4) ปัจจัยทำนายที่มีผลต่อพฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของผู้บริการพยาบาล ตึกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้บริการพยาบาล ประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพระดับ ปฎิบัติการและผู้ช่วยพยาบาลที่ปฎิบัติงานดึกผู้ป่วยนอก ที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 1 ปี ขึ้นไป และเคยเป็นผู้ใช้บริการ ดึกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 320 คน คัดเลือก กลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบสะดวก เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย (1) ปัจจัยด้านบุคคล (2) พฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยในบทบาทเป็นผู้ให้บริการ และ (3) พฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิ ผู้ป่วยในบทบาทเป็นผู้ใช้บริการ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามผู้ให้บริการและ ผู้ใช้บริการมีค่า 0.81 และ 0.85 ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟ่า ของแบบสอบถามผู้ ให้บริการและผู้ใช้บริการ มีค่า 0.96 และ 0.97 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติกลุ่มเดียววัดซํ้าก่อนและหลัง และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ แบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริการพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98 ) มีอายุต่ำ กว่า 30 ปี จำนวนมากที่สุด (ร้อยละ 36) (2) พฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของผู้บริการพยาบาล ในบทบาทเป็นผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการพยาบาล อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.12 และ 3.85 ตามลำดับ (3) ค่าคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของผู้บริการพยาบาลในบทบาท เป็นผู้ให้บริการสูงกว่าในบทบาทเป็นผู้ใช้บริการพยาบาล อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) พฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยในบทบาทเป็นผู้ใช้บริการ และอายุของผู้บริการ พยาบาล สามารถทำนายพฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้บริการพยาบาลได้รัอยละ49.3th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.307en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectสิทธิผู้ป่วยth_TH
dc.titleพฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของผู้บริการพยาบาล ตึกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeBehaviors of nursing providers to protect patient rights at the out patient department in a University Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.307en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were: (1) to study personal background of nursing providers, (2) to investigate behaviors of nursing providers to protect the patient rights, (3) to compare behaviors of nursing providers in terms of roles: providers and clients to protect the patient rights, and (4) to identify predictors of behaviors of nursing providers to protect the patient rights at the Out Patient Department in a University Hospital The sample included 320 professional nurses and nurse assistances who had at least one year experience and also used to be clients at the Out Patient Department. They were selected by the convenience sampling technique. The research tools were questionnaires which consisted of three parts: (1) the personal background of nursing providers, (2) behaviors to protect the patient rights in terms of providers’ role, and (3) behaviors to protect the patient the rights in terms of clients’ role. The content validity index of the second and the third parts of questionnaires were 0.85 and 0.81 respectively. Cronbach’s alpha of part two and three were 0.96 and 0.97 respectively. Mean, percent, standard deviation, Paired t-test, and Stepwise multiple regression were used for data analysis. The results are as follows. (1) Most nursing providers were females (98 %) and aged below 30 years (36 %). (2) Nursing providers rated their behaviors to protect the patient rights in terms of providers’ role and clients’ role at the high level and (A/ =4.12; M =3.85 respectively). (3) The mean scores of behaviors of nursing providers in terms of providers’ role to protect the patient rights are higher than that of clients’ role, but there was no statistically significant difference (p < 0.05). (4) Behaviors of nursing providers to protect the patient rights in terms of clients’ role and age of nursing providers could predicted behaviors of nursing providers to protect the patient rights for 49.3%en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib144830.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons