Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัฐวิชญญ์ จิวสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ จันต๊ะวงศ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-15T07:30:48Z-
dc.date.available2022-11-15T07:30:48Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2187en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปรายได้ รายจ่าย หนี้สิน และ เงินออม 2) พฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิต 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตและ 4) ป้จจัยที่มีผลต่อการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตของข้าราชการในอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ การศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการในอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ใช้บัตรเครดิตโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จำนวน 330 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้าราชการส่วนใหญ่เป็นหญิง มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรีอายุเฉลี่ย 41 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 25,008.73 บาท รายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือน 17,049.19 บาท หนี้สินเฉลี่ย 557,878.38 บาท เงินออมเฉลี่ย 187,228.45 บาท 2) ข้าราชการ ส่วนใหญ่ใช้บัตรเครดิตของธนาคารกรุงไทยวงเงินที่ได้รับอนุมัติสูงสุด 200,000 บาท มูลค่า การใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตเฉลี่ย 6,383.58 บาทต่อเดือนใช้บัตรเครดิตเพื่อความสะดวกในการใช้ แทนเงินสด สำหรับการซื้ออาหารเครื่องดื่มและชำระค่าบริการที่ห้างสรรพสินค้า แต่ละเดือนมีการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิต 1-2 ครั้ง และชำระค่าใช้บริการทั้งหมด สำหรับปัญหาการใช้บัตรเครดิต ส่วนใหญ่เป็นปัญหาการคิดค่าธรรมเนียมในอัตราสูงเกี่ยวกับการกดเงินสดและการชำระ เงินเกินกำหนดเวลา 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตในระดับมาก ได้แก่ ผ่อนชำระได้ เบิกเงินสดล่วงหน้า ไม่มีค่าบริการเมื่อชำระผ่านธนาคารค่าปรับการชำระเกินกำหนดเวลาอัตราสูง และซื้อสินค้าโดยการผ่อนชำระที่ไม่เสียดอกเบี้ย 4) ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่รายได้และปัจจัยด้านการส่งเสริมการขายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบัตรเครดิตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.subjectการชำระเงินth_TH
dc.titleการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตของข้าราชการในอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeCredit card spending of civil servants in Muang Uttaradit District, Uttaradit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study 1) the general conditions, income, expenditure, debtand savings, 2) the spending behavior on credit cards, 3) the opinions regarding the marketing mix towards credit cards, and 4) the factors affecting credit card spending of the civil servants in Muang Uttaradit District, Uttaradit Province. The study was a survey research using questionnaire as a tool to collect data from thesamples of 330 civil servants in Muang Uttaradit District, Uttaradit Province, selected through a simple random sampling method. Percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance, and multiple regression analysis were employed for analyzing the data. The result were as follows: 1) The civil servants were mostly female, married, having a bachelor’ degree, of 41 years of age in average, having the average income of 25,008.73 baht per month, with expenditure at 17,049.19 baht per month, average debt of 557,878.38 baht, and savings of 187,228.45 baht. 2) They mostly used Krungthai Bank credit cards, were allowed the financial amount of up to 200,000 baht, and spent at average 6,383.58 baht through credit card. They used a credit card in place of cash for convenience for the purchase of food, beverage, and department store payment. They used the credit card 1 -2 times per month and repaid the full amount. The problems they had with credit card were mostly high service charge for cash advance and overdue fine. 3) Their opinions at a high level regarding the marketing mix toward the credit cards were in terms of installment allowance, cash advance, zero-fee for bank counter payment, high overdue fine rate, and zero-interest installment purchase. 4) Income and promotional campaign were factors affecting spending on credit at 0.05 statistically significant level.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149690.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons