Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2188
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพอพันธ์ อุยยานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัญญามาศ ปัญญา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-15T08:11:25Z-
dc.date.available2022-11-15T08:11:25Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2188-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาพรวมการเคลื่อนไหวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศและตัวแปรทางการเงิน ได้แก่ ปริมาณเงินในความหมายกว้าง อัตราดอกเบี้ยนโยบาย และดัชนีราคาผู้บริโภค 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศกับตัวแปรทางการเงินดังกล่าว การศึกษานี้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิอนุกรมเวลารายไตรมาสตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 พ.ศ.2545 ถึงไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2555 รวมข้อมูลทั้งหมด 44 ไตรมาส โดยใช้แบบจำลอง Vector Auto Regressive (VAR) การศึกษานี้ใช้เครื่องมือทางเศรษฐมิติในการทดสอบความนิ่งของข้อมูล การทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยาว โดยวิธี Johansen (1988) และการทดสอบความเป็นเหตุเป็นผล ผลการศึกษาพบว่า 1) การเคลื่อนไหวของตัวแปรที่นำมาศึกษา ได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ปริมาณเงินในความหมายกว้าง และดัชนีราคาผู้บริโภคมีทิศทางการปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีทิศทางการปรับตัวตามการใช้นโยบายการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย 2) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศและตัวแปรทางการเงินที่นำมาศึกษาทั้งหมดมีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว นอกจากนี้การทดสอบความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปรทีละคู่ พบว่าดัชนีราคาผู้บริโภคที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษานี้ อย่างไรก็ตามกลับไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจกับตัวแปรทางการเงิน คือ ปริมาณเงินในความหมายกว้าง อัตราดอกเบี้ยนโยบาย และดัชนีราคาผู้บริโภคอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากในทางทฤษฎีแม้ตัวแปรทางการเงินจะส่งผลต่อการการเติบโตทางเศรษฐกิจอยู่บ้าง แต่เป็นการส่งผ่านตัวแปรไปยังภาคเศรษฐกิจจริง และเชื่อมโยงไปที่การเติบโตทางเศรษฐกิจอีกทีหนึ่ง ซึ่งผลดังกล่าวไม่ชัดเจนนัก ดังนั้นนโยบายการเงินจึงควรให้น้ำหนักกับการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมากกว่าเรื่องการขยายตัวทางเศรษฐกิจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.subjectการเงิน--ไทยth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจกับตัวแปรทางการเงินth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between economic growth and financial variablesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to study: 1) the movement of the overall Gross Domestic Product and financial variables including the Broad Money, Interest Rate Policy and the Consumer Price Index; and 2) the relationship between Gross Domestic Product and these financial variables. The study used quarterly secondary time series data with a total of 44 qutaters, from the 1st’Quarter of 2002 to the 4th.Quarter of 2012 by using Vector Auto Regressive (VAR) models. It applied econometric tools to test the Unit Root, long term equilibrium relationship through Johansen approach (1988), and the test for causality. The results showed that: 1) the movement of the variables in the study including Gross Domestic Product, the Broad Money and the Consumer Price Index showed upward increasing adjustment continuously. The Interest Rate Policy had fluctuated depending on monetary policy implementation by The Bannk of Thailand; 2) Gross Domestic Product and financial variables in the study with long-term equilibrium were interrelated. To test the causality between each pair of variables, the change in Consumer Price Index rate affected Interest Rate Policy, at the level of significance at 0.05, but no significant relationship between economic growth and financial variables, i.e. Broad Money, Interest Rate Policy and the Consumer Price Index. Although, in theory, financial variables are likely to affect the economic growth through various variables to the real economy, the results of this study remained unclear. Nevertheless, monetary policy should be given to stabilize the economy at higher weight than the economic expansionen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140176.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons