Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/218
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล | th_TH |
dc.contributor.author | นพดล ปุยเกิดทรัพย์, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิต | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-04T01:14:39Z | - |
dc.date.available | 2022-08-04T01:14:39Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/218 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ แนวความคิดเกี่ยวกับการควบคุมกำกับธุรกิจซื้อขายรถยนต์ ความรับผิดทางแพ่งของผู้ผลิตผู้จำหน่าย รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติและผู้ครอบครองรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ 2) เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายของต่างประเทศเพื่อควบคุมกำกับการประกอบธุรกิจรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาปัญหากฎหมายเพื่อควบคุมกำกับการประกอบธุรกิจรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติส่วนบุคคลของไทย 4) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการตรากฎหมายเพื่อควบคุมกำกับการประกอบธุรกิจรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติส่วนบุคคล วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพในการศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาวิเคราะห์ตำรา บทความ งานวิจัย คำพิพากษาของศาลรวมทั้งตัวบทกฎหมายทั้งไทยและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมกำกับการประกอบธุรกิจรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติส่วนบุคคล ได้แก่ พระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2552 พระราชบัญญัติขนส่งทางบก พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 เป็นต้น รวมทั้งมาตรการควบคุมกำกับการประกอบธุรกิจรถยนต์ขับเคลื่อน อัตโนมัติส่วนบุคคลของต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา เยอรมัน และสิงคโปร์ ผลจากการศึกษาพบว่า 1) พระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ.2522 ยังมิได้กำหนดมาตรฐานที่มีความเหมาะสมกับรถยนต์ขับเคลื่อนโดยอัตโนมัติกล่าวคือ มิได้กำหนดส่วนประกอบสำคัญของรถยนต์ ขับเคลื่อนโดยอัตโนมัติ ได้แก่ อุปกรณ์รับสัญญาณ GPS อุปกรณ์ไลดาร์เป็นต้นประการ 2) บทบัญญัติมาตรา 437 วรรคหนึ่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่ได้ให้สิทธิไล่เบี้ย และไม่ปรากฏความเห็นทางกฎหมายที่เห็นว่าผู้ต้องสันนิษฐานความรับผิดมีสิทธิไล่เบี้ย ทำให้ผู้ต้องสันนิษฐานความรับผิดไม่อาจไล่เบี้ยเอาผิดกับบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ไต้ ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมกับผู้ใช้รถยนต์ที่ใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนโดยอัตโนมัติ 3) ความคลุมเครือในบทนิยามคำว่า “สินค้า”ในพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 ทำให้ไม่สามารถคุ้มครองบุคคลภายนอกที่ไค้รับความเสียหายที่เกิดจากรถยนต์ที่ใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนอัตโนมัติ 4) ควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522 บทบัญญัติมาตรา 437 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความรับผิดของผู้ผลิต--ยานยนต์ | th_TH |
dc.subject | ยานยนต์อัจฉริยะ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การขัดกันแห่งกฎหมาย--การชดใช้ค่าเสียหาย | th_TH |
dc.title | ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติส่วนบุคคล | th_TH |
dc.title.alternative | The liability for damage arising from a personal self-driving car | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2018.29 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.29 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This thesis aims to 1) Study on the knowledge related to a self-driving car, a concept on supervising car-trading business, a civil liability of manufacturer and distributor of self-driving car, 2) Study the legislative measure of foreign country to supervise the operation of personal self-driving car business, 3) Study on legal problems to supervise the operation of personal self-driving car business in Thailand, 4) Study on the probability in an enactment to supervise the operation of personal self-driving car business. This thesis is a qualitative research which in this study, we researched and analyzed on textbooks, articles, researches, judgments including a legislation both Thai and international related to the supervision of personal self-driving car business, i.e., Vehicle Act B.E. 2522, Land Transport Act B.E.2522, Liability for Damage Arising from Unsafe Products Act B.E. 2551, etc., and also a measure supervising on the operation of personal self-driving car business in foreign countries which are USA, Germany, and Singapore. The result of the study shows that 1) The Vehicle Act B.E. 2522 has not been yet standardized appropriate to the self-driving car, that is to say, it has not been specified on the essential components of self-driving cars such as receiver, GPS, Lidar, etc. 2) The legal provision no. 437, paragraph 1, the civil and commercial code does not provide the right to recourse and there is no legal opinion showing that a person who is assumed on liability, has the right to recourse causing that person not being able to recourse against the vehicle manufacturing company which causes an injustice to the car driver who uses the self-driving technology, 3) The ambiguity in the definition of “Goods” in the Liability for Damage Arising from Unsafe Products Act B.E. 2551 causes an inability of protecting outsider who receives damages from the vehicle using self-driving technology, 4)There should be an additional amendment of the Vehicle Act B.E. 2522, the legal provision no.437, the civil and commercial code and the Liability for Damage Arising from Unsafe Products Act B.E. 2551 | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วิมาน กฤตพลวิมาน | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib162009.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.