Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัฐวิชญญ์ จิวสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฉัตรระวี จินดาพล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-21T06:19:06Z-
dc.date.available2022-11-21T06:19:06Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2196-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษา 1) ต้นทุนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ของโรงพยาบาลเลิดสิน 2) ผลตอบแทนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ของโรงพยาบาลเลิดสิน 3) การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุนของการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ของโรงพยาบาลเลิดสิน 4) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวการติดตั้งระบบผลิต ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของโรงพยาบาลเลิดสิน การวิจัยครั้งนี้ใช้โรงพยาบาลเลิดสินเป็นกรณีศึกษา ซึ่งประกอบด้วยอาคารทั้งหมด 4 อาคาร ได้แก่ 1) อาคารผู้ป่วยนอก 2) อาคาร 33 ปี 3) อาคารกาญจนาภิเษก 4) อาคารส่งเสริมบริการ ข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลทุติยภูมิ ประกอบด้วย พื้นที่หลังคาอาคาร ปริมาณการใช้ไฟฟ้า-ค่าไฟฟ้าแต่ละ อาคาร ต้นทุนการติดตั้ง และอัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย นำมาวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของ การลงทุนระยะเวลา 25 ปี รวมถึงประเมินค่าโครงการลงทุนด้วยวิธี 1) ระยะเวลาคืนทุน 2) มูลค่า ปัจจุบันสุทธิ 3) อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน 4) อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ และ 5) วิเคราะห์ความอ่อนไหวของโครงการ ผลการวิจัยพบว่า 1) ต้นทุนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทั้งหมด เท่ากับ 50,574,500 บาท แยกเป็นต้นทุนประเภททุนเท่ากับ 48,284,000 บาท ต้นทุนดำเนินการ เท่ากับ 2,290,500 บาท 2) ผลตอบแทนจากการผลิตกระแสไฟฟ้าทั้งหมดเท่ากับ 74,226,270.19 บาท 3) การประเมินค่าของโครงการมีระยะเวลาคืนทุน 18.84 ปี มูลค่าปัจจุบันสุทธิ เท่ากับ 7,097,196.51 บาท อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน เท่ากับ 1.17 และอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ เท่ากับ ร้อยละ 5.11 และ4) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของโครงการทั้ง 5 กรณี มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิเป็น บวก อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนมากกว่า 1 และอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการมากกว่า อัตราคิดลด ดังนั้นโครงการการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของโรงพยาบาลเลิดสิน สมควรที่จะลงทุนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectระบบไฟฟ้าth_TH
dc.subjectพลังงานแสงอาทิตย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของโรงพยาบาลเลิดสินth_TH
dc.title.alternativeCost-Benefit analysis of installation on solar energy at Lerdsin Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe Objectives of this research were to study: 1) Cost for installation on solar energy at Lerdsin hospital 2) Benefit for installation on solar energy at Lerdsin hospital 3) An analysis of the possible investment for installation on solar energy at Lerdsin hospital 4) Sensitivity analysis for installation on solar energy at Lerdsin hospital. This research used Lerdsin hospital as a case study consisting of 4 buildings: 1) Out Patient Department building 2) 33rd years Anniversary building 3) Kanchanapisek building 4) Service Extension building. Data used were the secondary data consisting of area building roof, quality of using power – electrical bills, installation costs and average tariff for analytical cost and benefit of investment for installation on solar energy for a period of 25 years. Methods used to evaluate the project were: 1) Pay Back Period (PBP) 2) Net Present Value (NPV) 3) Benefit-Cost Ratio (BCR) 4) Internal Rate of Return (IRR) and 5) Sensitivity analysis. The results from the research revealed that: 1) Cost for installation on solar energy was 50,574,500 Baht separating into capital cost at 48,284,000 Baht and operation cost at 2,290,500 Baht. 2) Benefit from electricity production was 74,226,270.19 Baht 3) Evaluation Project for installation on solar energy of 4 buildings at Lerdsin hospital were found to have pay back period (PBP) at 18.84 years, a net present value (NPV) at 7,097,196.51 Baht, benefit-cost ratio (BCR) at 1.17 and internal rate of return (IRR) at 5.11 percent 4) Sensitivity analysis for 5 cases for installation on solar energy at Lerdsin hospital was found to have a positive net present value (NPV), benefit-cost ratio (BCR) was more than 1 and internal rate of return (IRR) was more than discount rate. So that investment in installation on solar energy at Lerdsin hospital project was feasibleen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151509.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons